ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การอภิวัฒน์สยาม

บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2567
หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้า โดยนายประยูร ภมรมนตรี ได้บิดเบือนประวัติศาสตร์คณะราษฎรและกลุ่มการเมืองของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจ และความขัดแย้งภายในคณะราษฎรเรื่องการลาออกของหลวงเดชสหกรณ์
บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
วันนี้ในอดีต
17
กันยายน
2567
ในวาระ 101 ปีชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล นักคิดนักเขียนคนสำคัญที่ผลิตผลงานเกี่ยวข้องกับคณะราษฎร และนายปรีดี พนมยงค์ บทความนี้เสนอความสัมพันธ์ของนายปรีดีและนายปาล พนมยงค์กัยนายสุพจน์ผ่านจดหมายโต้ตอบระหว่างกันบางส่วน
บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงกรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 13 วิเคราะห์เรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจโดยนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่าในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ มีข้อมูลคลาดเคลื่อนเพราะนายประยูร ภมรมนตรีไม่ได้ทำให้เค้าโครงการเศรษฐกิจล้มเลิก
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กันยายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงกรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงของการอภิวัฒน์ 2475 (ตอนที่ 12) ของนายปรีดี พนมยงค์ วิเคราะห์เรื่องหลักการเกี่ยวกับการอภิวัฒน์ 2475 3 ประการ และหลักการยึดอํานาจฯ 3 ประการ โดยนายปรีดีได้อธิบายข้อเท็จจริงจากหลักฐานประวัติศาสตร์ และบันทึกของพระยาทรงสุรเดช
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
สิงหาคม
2567
ในวาระ 92 ปีการอภิวัฒน์สยาม ได้มีการสร้างละครเวทีเรื่อง Before 2475 ของคนรุ่นใหม่โดยมีเนื้อหาย้อนกลับไปสู่ก่อนการอภิวัฒน์ตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎร ช่วง พ.ศ. 2468-2469 ของคณะผู้ก่อการทั้ง 7 คน
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอประเด็นเรื่องหลัก 6 ประการที่หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ว่าข้อเท็จจริงที่แท้นั้น นายประยูรได้ปฏิเสธการดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
สิงหาคม
2567
ข้อเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึงประวัติชีวิตนายซิม วีระไวทยะอย่างละเอียดในหนังสือที่พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายซิม วีระไวทยะ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ พ.ศ. 2486 ซึ่งการเขียนเป็นแบบอักขรวิธีในยุคนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2567
รัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่กระทบประชาชน โดยมุ่งตอบสนองด้านการเงิน เพิ่มภาระภาษี แทนการแก้ปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน
Subscribe to การอภิวัฒน์สยาม