ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศิลปะ-วัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
กุมภาพันธ์
2565
  กลางปี พ.ศ. 2489 หนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งถือกำเนิดขึ้น และมีลักษณะเด่นตรงที่ดำเนินกิจการโดย "สตรี" นั่นคือหนังสือพิมพ์ ธรรมธาดา ซึ่ง คุณหญิงพงา ดุลยธรรมธาดา D.S.A. เป็นเจ้าของและผู้จัดการ  นายจงใจภักดิ์ ฉัตรภูมิ D.P.N. เป็นบรรณาธิการผู้โฆษณา พันตรี จิระชัย ชูรัตน์ เป็นผู้ช่วยบรรณาธิการ และ นายสวัสดิ์ สิริสวัสดิ์ เป็นผู้พิมพ์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
19
ธันวาคม
2564
ช่วงปลายธันวาคม พ.ศ. 2488 ได้มีหนังสือพิมพ์หัวใหม่เกิดขึ้นในวงการสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า "หนังสือพิมพ์มติราษฎร์" ประจวบกับเพิ่งผ่านพ้นการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 2 มาไม่กี่เดือน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ธันวาคม
2564
“การประกวดการแต่งเรือในคลองหลอด” ระบุวันประกวดตรงกับวันอังคารที่ 9 และวันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2484 แต่ถ้ามีเรือส่งเข้าร่วมประกวดจำนวนมากก็จะขยายวันเพิ่มเติมอีก 1 วันคือ 11 ธันวาคม จะเริ่มประกวดตั้งแต่เวลา 14.00 น.
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
มกราคม
2564
บทกวีของ 'วิสา คัญทัพ' (เจ้าของวรรคทองอันโด่งดังที่ว่า "เมื่อท้องฟ้าสีทองผ่องอำไพ ประชาชนย่อมเป็นใหญ่ในแผ่นดิน") ซึ่งเขียนรำลึกถึงการจากไป ของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2550
ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
พฤศจิกายน
2563
การกลับมาอีกครั้งของละคอน "คือผู้อภิวัฒน์" ในช่วงเวลาที่ความสนใจต่อประวัติศาสตร์การเมือง ในช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กำลังอยู่ในกระแสของสังคม ท่ามกลางช่วงเวลาที่คุณค่าซึ่งผูกพันกับอุดมการณ์แบบอำนาจนิยมเริ่มถูกตั้งคำถามในทุกปริมณฑลของชีวิต
ศิลปะ-วัฒนธรรม
31
ตุลาคม
2563
คนทั่วไปมักรู้จักงานประพันธ์ของนายปรีดี พนมยงค์ เพียงแต่ในส่วนของผลงานร้อยแก้ว นั่นคือ นวนิยายและบทภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" รวมถึงบทความต่าง ๆ ทว่ายังมีงานประพันธ์ของปรีดีอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งไม่ค่อยมีใครเอ่ยถึงนัก ได้แก่ ผลงานร้อยกรองหรือบทกวี
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เจตนา นาควัชระ ที่มีต่อละครเวที 'คือผู้อภิวัฒน์' เมื่อจัดแสดงเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2530 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
กันยายน
2563
อ่านบทกลอนของ ส. ศิวรักษ์ ที่เขียนถึงปรีดี พนมยงค์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กรกฎาคม
2563
คือวิญญาณเสรี ชื่อ “ปรีดี พนมยงค์” คือดาวที่ดํารง อยู่คู่ฟ้าสถาวร
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
กรกฎาคม
2563
  ปรีดี พนมยงค์ ชื่อท่านคง ในดวงใจ ประชาชน ทั่วเขตไทย มิมีใคร ลืมปรีดี ท้าวความ ตามประวัติ รู้แน่ชัด ท่านผู้นี้ กอบกู้ ศักดิ์และศรี ทูลขอมี รัฐธรรมนูญ ใครว่า คนทําดี ย่อมได้ดี มาเกื้อกูล แม้ชนยกย่อง เทิดทูน ได้รัฐธรรมนูญ แล้วกลับไม่อินัง โศกเอย ท่านคงโศกเศร้า ปวดใจร้าว แทบภินท์พัง ห่วงไทย ด้วยความหวัง เชิดชูตรา ค่าของคน จิตใจ ท่านดั่งเพชร มิขามเข็ด ต่อเล่ห์คน ปรีดี ยังเวียนวน สะกิดใจ ไทยทั้งเมือง   *วรรณา สวัสดิ์ศรี เขียนเมื่อปี 2527
Subscribe to ศิลปะ-วัฒนธรรม