ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศิลปะ-วัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
8
กันยายน
2565
เสียงจาก "ชนเผ่าพื้นเมือง" ผู้เรียกร้องสิทธิและเสรีภาพพึงมีในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองแห่งรัฐ ผ่านบรรยากาศของกิจกรรม "วันชนเผ่าพื้นเมือง" อันเป็นเวทีสาธารณะให้กับทุกคนร่วมทำความเข้าใจต่อประเด็นวิถีชีวิตและสิทธิมนุษยชนของชนเผ่าพื้นเมือง โดยใช้พลังทางวัฒนธรรม คือ soft power ซึ่งแสดงถึงอัตลักษณ์และตัวตนในรูปแบบต่างๆ เช่น คีตศิลป์ นาฏศิลป์ ศิลปะ และภาพยนตร์ เป็นต้น
ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
สิงหาคม
2565
กระแส Pop Culture ได้ก่อให้เกิดการสถาปนาศาสตร์และสาขาวิชาใหม่ๆ ในการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างจริงจัง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเข้าใจต่อปรัชญา อุดมคติ ผ่านการลงสนามจริงให้นักศึกษาได้ฝึกฝนและลับคมพร้อมก้าวไปสู่การเป็นแรงงานในแวดวงบันเทิงอย่างมีประสิทธิภาพ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
กรกฎาคม
2565
ความสำเร็จของ “กรุงเทพกลางแปลง” เทศกาลหนังกลางแปลงที่จะถูกจัดขึ้นตั้งแต่ วันที่ 7-31 กรกฎาคม 2565 โดยความร่วมมือของภาครัฐ (กรุงเทพมหานคร) และเอกชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ จะว่าด้วยเรื่องของสัตว์สองประเภท คือ นกและปลา ซึ่งมีการตั้งชื่อเรียกโดยใช้ชื่อของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ได้แก่ นกปรีดี, ปลาปล้องทองปรีดี และ นกเสรีไทยที่เคยได้นำเสนอไปแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็นเกียรติและเพื่อการรำลึกคุณูปการของท่านที่มีต่อชาติและราษฎรไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
  ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
เมษายน
2565
4 เมษายน 2484 รอบปฐมทัศน์ "พระเจ้าช้างเผือก" ภาพยนตร์ที่ประพันธ์และอำนวยการสร้างโดย นายปรีดี พนมยงค์ ถูกสร้างขึ้นเพื่อประกาศอุดมการณ์ทางการเมืองว่าด้วยสงคราม และ สันติภาพของท่านผู้สร้าง ในนามของประชาชาติไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
16
มีนาคม
2565
บทกวีนี้ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ประชามิตร รายสัปดาห์ ฉบับวันที่ 10 มีนาคม 2489
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กุมภาพันธ์
2565
ผมเพิ่งมีโอกาสได้รู้จักกับ คุณดุษฎี พนมยงค์ (ขอเรียกสั้นๆ ว่า “ครูดุษ”) ตัวจริงและเสียงจริงเมื่อราว ๔๐ ปีที่แล้ว ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ คุณดุษไปอยู่ที่นั่นเพื่อศึกษาศิลปะการร้องเพลงเพิ่มเติมต่อจากที่เรียนมาแล้วจากประเทศจีน     
Subscribe to ศิลปะ-วัฒนธรรม