ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศิลปะ-วัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
พฤศจิกายน
2566
“แสงสัจจา” [Sang Sajja] ละครร้องแบบไทยสร้างใหม่ ทำการแสดงโดย กลุ่มละครอนัตตา Anatta Theatre เขียนบทและกำกับโดย ประดิษฐ ประสาททอง หนึ่งในสามผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มละครอนัตตาและ ศิลปินศิลปาธรสาขาศิลปะการแสดงคนแรก
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2566
ประวัติความเป็นมา บทสัมภาษณ์ และบทวิจารณ์ความเห็นที่มีต่อละครเพลง “WATERFALL A New Musical” รวมไปถึงบทส่งต่อถึงเยาวชนและผู้คนที่สนใจในโลกแห่งละครเวทีถึงวงการละครเวทีของไทยว่าจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้าง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กันยายน
2566
การจัดงานรณรงค์และเฉลิมฉลองวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2566 เป็นวันเดียวที่จัดร่วมกันไปกับวันสากลชนเผ่าพื้นเมืองโลก (International Day of the World's Indigenous Peoples) ดังที่สหประชาชาติให้ความสำคัญ โดยมีขึ้นในวันพุธที่ 9 สิงหาคม 2566 ณ อาคารหอประชุมศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ “พลังเยาวชนชนเผ่าพื้นเมือง ร่วมสร้างสรรค์สังคมสู่การเปลี่ยนแปลง”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
6
กันยายน
2566
เชิญชวนผู้อ่านย้อนกลับไปพิจารณาถึงดีเบตนโยบายและวิสัยทัศน์ต่อประเด็นเรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” ผ่านคำถามทั้งจากผู้จัดและผู้เข้ารับชม เมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2566 โดย สมาคมการค้าส่งเสริมอุตสาหกรรมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
สิงหาคม
2566
รางวัลละครเวทีและนาฏศิลป์ร่วมสมัยฯ ครั้งล่าสุดเมื่อปี 2566 นับเป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่กระตุ้นและดึงดูดผู้คนให้กลับมาสนใจอีกครั้ง เมื่อละครเวที เรื่อง “ART” ละครผอมซึ่งใช้ต้นทุนการแสดงต่ำ ในขณะที่เน้นการแสดงและตัวบทที่สำคัญเพื่อถ่ายทอดและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม สามารถคว้ารางวัลถึง 4 รางวัลจากทั้งหมด
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
กรกฎาคม
2566
วงการศิลปะการแสดงร่วมสมัยของไทยมีการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ อยู่เสมอ การแสดงแบบ Intermission ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งแห่งรูปลักษณ์ของการเต้นแบบหลังสมัยใหม่ ภายใต้ลีลาที่ซ่อนความหมายไว้ในทุกก้าวที่ขยับร่างกายมนุษย์ อันบอกไว้ด้วยถึงนัยทางการเมืองเพื่อการปลดปล่อยจากอำนาจที่กดทับ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
มิถุนายน
2566
บรรยากาศของการจัดงาน Bangkok Pride 2023 เทศกาลเฉลิมฉลองเพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงความหลากหลาย สิทธิเสรีภาพ และความเท่าเทียมของมนุษย์ โดยปราศจากเพศเป็นกรอบแบ่งแยกชีวิต ผู้เขียนยังเก็บเกี่ยวความหมายของกิจกรรมอื่นๆ เช่น นิทรรศการฝีมือของคนรุ่นใหม่ และ ถอดรหัสละครเวทีเรื่อง "อนธการ" (The Blue Hour)
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤษภาคม
2566
จากการต่อสู้ของชาวบ้านบางกลอยและหมู่บ้านใจแผ่นดินที่ต้องทัดทานกับอำนาจของรัฐ จนถึงกรณีการบังคับสูญหายบิลลี่ สู่ “Behind The Mount หลังเขา” การแสดง art performance ในรูปแบบ devising สื่อความหมายและชวนตั้งคำถามถึงความรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อชีวิตของใครหลายๆ คนที่รัฐและเจ้าหน้าที่รัฐพึงรับผิดชอบ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
15
พฤษภาคม
2566
เส้นทางการต่อสู้ของภาพยนตร์ไทยที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน ข้อกำหนดกฎหมาย ขั้นตอนการพิจารณาความเหมาะสม (rating) ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการผลิตผลงานในนามของศิลปะที่ถ่ายทอดความคิดและสื่อสารต่อผู้ชมเป็นไปอย่างมีข้อจำกัด
Subscribe to ศิลปะ-วัฒนธรรม