ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศิลปะ-วัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึงภาพยนตร์แนวมนุษยนิยมโดยร้อยโยงกับการตั้งคำถามและค้นหาคำตอบต่อสัจธรรมแห่งชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสัมพันธ์ผู้คนเข้าด้วยกันภายใต้ภาวะความเป็นสมัยใหม่ที่แวดล้อมไปด้วยพลวัตทางสังคมและการขับเคลื่อนอย่างไม่หยุดยั้ง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
11
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึงเทศกาลภาพยนตร์โลกแห่งกรุงเทพ ครั้งที่ 15 World Film Festival of Bangkok 2022 : Return to Cinema บอกเล่าการกลับมาของเทศกาลภาพยนตร์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
ธันวาคม
2565
ย้อนกลับไปยัง "งานฉลองรัฐธรรมนูญ" ในปี พ.ศ. 2483 อันปรากฏร่องรอยประวัติศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" ซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกับกองศิลปากรในการประกวดเคหสถาน กิจกรรมในคราวนั้นก็เพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรมความเจริญของชาติในระบอบประชาธิปไตย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
1
ธันวาคม
2565
"คินีและทูรันโดต์" บอกเล่าเรื่องราวเจ้าหญิงทูรันโดต์ผู้เย็นชาและไม่ศรัทธาในความรัก การจะอภิเษกกับเจ้าหญิงต้องถูกทดสอบโดยตอบปริศนา 3 ข้อ หากตอบข้อใดผิดชายผู้นั้นจะต้องถูกบั่นศีรษะ เนื้อเรื่องดำเนินไปอย่างซ่อนเร้นนัยที่แอบแฝงไว้ และชวนให้ผู้ชมได้ตีความผ่านมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤศจิกายน
2565
Bangkok Theatre Festival 2022 ในธีม "Reimagine" ตลอดจนละครเวทีเรื่อง "๔ แผ่นดินs : The Last Ten Years" การแสดงจาก "กลุ่มละครอนัตตา" และกำกับโดย 'ตั้ว ประดิษฐ ประสาททอง' ตกผลึกความคิดในบริบทการเมือง 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม เพื่อล้อเลียนอมตะวรรณกรรม "สี่แผ่นดิน" ต้นฉบับโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
ตุลาคม
2565
“มหกรรมหนังสือระดับชาติ” ครั้งที่ 27 (Book Expo Thailand 2022) การกลับมาของงานหนังสือพร้อมรูปลักษณ์ใหม่ของศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
ตุลาคม
2565
ญี่ปุ่นเป็นชาติที่มีภาพลักษณ์ชัดเจนของคนรุ่นใหม่ ซึ่งมีวินัยต่อการใช้ชีวิตที่วิ่งสวนทางกับอุดมคติแบบสุขนิยม เมื่อประเทศเข้าสู่ฐานะการเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจจนได้สมญา เสือแห่งเอเชีย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
ตุลาคม
2565
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต้องทำอย่างไรเพื่อส่งต่ออุดมการณ์ให้คนรุ่นใหม่ปฏิบัติการได้สำเร็จ คือ โจทย์ที่เป็นหัวใจสำคัญของการเคลื่อนไหวในแต่ละก้าวของคนรุ่นต่อรุ่นและ ศิลปะ ยังคงทำหน้าที่เป็นส่วนประสานผ่านหลายแขนงอย่างเข้มแข็งตลอดมา
ศิลปะ-วัฒนธรรม
2
ตุลาคม
2565
ประติมากรรมสามัญชน จรัล มโนเพ็ชร กับ 21 ปี รำลึกการจากไป ส่งอะไรให้สานต่อ
Subscribe to ศิลปะ-วัฒนธรรม