ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ดุษฎี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อของวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ เขียนโดยสุดา และดุษฎี พนมยงค์ แสดงถึงผลงานสำคัญได้แก่ การทำงานถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ การทำงานสอนภาษาจีน งานบรรณาธิการหนังสือ งานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และงานกองทุนศรีบูรพา
บทสัมภาษณ์
16
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องราวของอาจารย์ปรีดีในปารีส หลังลี้ภัยจากรัฐประหาร พร้อมภาพบ้านอองโตนีที่อาจารย์ท่านใช้ชีวิตปลายทาง ฟังเรื่องราวจากสองบุตรี ของรัฐบุรุษอาวุโส สุดา-ดุษฎี พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2566
รวบรวมถึงเรื่องราว เรื่องเล่า และบรรยากาศภายใน “บ้านศรีบูรพา” ผ่านบุคคลที่เคยร่วมงานกัน สะท้อนถึงความเป็นเสมือนลมใต้ปีกที่ทำให้บ้านศรีบูรพามีชีวิตชีวาของคุณวาณีสะใภ้แห่งบ้านศรีบูรพาในฐานะศูนย์กลางของเรื่องราวอันควรรำลึกถึง
บทบาท-ผลงาน
1
กันยายน
2566
ดร.พิจิตต รัตตกุล กล่าวถึงที่มาของ “สวนเสรีไทย” จากความมุ่งหวังสำคัญเมื่อปี 2526 คือแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใหญ่และสาเหตุที่เลือกใช้ชื่อว่า “สวนเสรีไทย” เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของขบวนการเสรีไทย
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2566
วันหนึ่ง มีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น แม่ของปลายถูกตำรวจควบคุมตัวไป ดังเช่นที่พี่ชายของปลายถูกจับกุมเมื่อหลายวันก่อน ปลายจึงต้องตามแม่ไปด้วย คืนวันผ่านไปอย่างไร้อิสระ ปลายได้แต่ตั้งคำถามว่าทำไมแม่และพี่ชายจึงต้องมาถูกจับเช่นนี้
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
มีนาคม
2566
กิจวัตรประจำวันของนายปรีดี พนมยงค์ กับความโปรดปรานในการรับชมภาพยนตร์แนวสารคดีประวัติศาสตร์ หากการรับชมนั้นนายปรีดียังได้ฝากทรรศนะวิจารณ์ไว้ได้อย่างแยบคาย โดยเฉพาะเมื่อนายปรีดีได้รับชมภาพยนตร์แนวบุกเบิกตะวันตก
ชีวิต-ครอบครัว
19
มกราคม
2566
ความเป็นมาของเพลง "คนดีมีค่า" และ "แม่จ๋า" รวมไปถึงบทบาททางสังคมและบทบาทในฐานะแม่ของ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' และ 'คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร' อีกทั้งความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างสองครอบครัวซึ่งเป็นความผูกพันที่เอื้ออาทรต่อกัน ตลอดจนบทเรียนที่ได้ทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลังผ่านฉากและชีวิตของสตรีทั้งสอง
ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 จนกระทั่งวันนี้ เป็นเวลา 94 ปี ที่นามของปรีดี-พูนศุข ได้ประสานรวมเป็นหนึ่งและเคียงข้างกัน แม้ทั้งสองจะล่วงลับละสังขารจากโลกนี้ไปแล้ว แต่เรื่องราวความรักและคุณูปการที่ได้เคยกระทำไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ยังคงโลดแล่นและไหลเวียนอยู่ในสายธารแห่งประวัติศาสตร์อย่างมิรู้จบ....ตราบนานเท่านาน .
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
Subscribe to ดุษฎี พนมยงค์