ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทวี บุณยเกตุ

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กรกฎาคม
2568
จากบันทึกของ นายจรูญ สืบแสง สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน คนสำคัญ กับรายละเอียดก่อนวันการอภิวัฒน์กับเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองสยาม เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475
บทบาท-ผลงาน
9
มิถุนายน
2568
บทบาทสำคัญและความสัมพันธ์ของปรีดี พนมยงค์ ต่อสถาบันกษัตริย์ ในการอัญเชิญพระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นเป็นรัชกาลที่ 8 ตามกฎมณเฑียรบาล เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและสร้างความปรองดองต่อทุกฝ่ายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
4
มิถุนายน
2568
บทความนี้วิเคราะห์การเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ประเทศไทย” ว่าเป็นจุดปะทะระหว่างแนวคิดชาตินิยมแบบเปิดกว้างกับลัทธิคลั่งชาติซึ่งเน้นความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ โดยชูแนวคิดของปรีดี พนมยงค์ ที่เสนอให้ “สยาม” เป็นสัญลักษณ์ของความหลากหลายและสันติภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2568
ดิเรก ชัยนาม มีทั้งความสุภาพเรียบร้อย ความรู้ความสามารถ และความเสียสละเพื่อชาติ โดยเฉพาะบทบาทในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กับคณะราษฎรและสงครามโลกครั้งที่ 2 กับขบวนการเสรีไทย ที่คุณดิเรกเข้าร่วมอย่างกล้าหาญ เสี่ยงชีวิตเพื่อประเทศชาติ
วันนี้ในอดีต
10
มีนาคม
2568
108 ปี ชาตกาล ไสว สุทธิพิทักษ์ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2568 เสนอชีวประวัติ ผลงาน และสะท้อนความสัมพันธ์ของ ดร.ไสว กับนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดย ดร.ไสว อุทิศชีวิตทำงานเพื่อชาติโดยเฉพาะมิติการศึกษาและด้านเศรษฐกิจ
วันนี้ในอดีต
24
กุมภาพันธ์
2568
ชีวประวัติและบทบาททางสังคมการเมืองของแช่ม พรหมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นจุฬาราชมนตรีสายซุนนีคนแรกของไทย เป็นสมาชิกเสรีไทย และส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่างศาสนา และสะท้อนความสัมพันธ์อันดีกับนายปรีดี พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
15
กุมภาพันธ์
2568
PRIDI Interview ตอน ดิเรก ชัยนาม โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ ส. ศิวรักษ์ กล่าวถึงผลงานและชีวประวัติของดิเรก นับตั้งแต่หลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 จนถึงหลังสงครามมหาเอเชียบูรพา
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤศจิกายน
2567
ทวี บุณยเกตุ เขียนถึงประชาธิปไตยในไทยช่วงทศวรรษ 2510 เสนอว่าประชาชนพลเมืองทุกคนเป็นเจ้าของประเทศ อ้านาจการปกครองออกเป็น 3 ฝ่ายคือ 1. อํานาจนิติบัญญัติ 2. อํานาจบริหาร และ 3. อํานาจตุลาการ
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2567
สุนทรพจน์ของรู้ธ หรือนายปรีดี พนมยงค์ และ 79 ปี พิธีสวนสนามของขบวนการเสรีไทย ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นการยืนยันชัยชนะของประชาชนและขบวนการเสรีไทยหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
กันยายน
2567
อัตชีวประวัติของนายเล้ง ศรีสมวงศ์ ในการทำงานด้านการคลัง และการธนาคาร โดยเฉพาะในช่วงที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาตารแห่งประเทศไทย กับการดำเนินงานด้านธนาคารพาณิชย์ของเอกชน และความสัมพันธ์กับนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to ทวี บุณยเกตุ