ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2563
เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ ๗๘ แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยหอจดหมายเหตุและหอประวัติศาสตร์เกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดพิมพ์เอกสารอันทรงคุณค่าเล่มหนึ่งขึ้นเพื่อการนี้ กล่าวคือ หนังสือ “๗๘ ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.๒๔๗๗-๒๕๕๕) มองธรรมศาสตร์ผ่านเอกสารจดหมายเหตุ”
บทบาท-ผลงาน
3
เมษายน
2563
ข้อมูลจากการเสวนา ปรีดีศึกษา ครั้งที่ ๒ “โมฆสงคราม งานนิพนธ์ที่ค้นพบล่าสุดของปรีดี พนมยงค์” ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”   เชื่อว่าเราหลายคนคงเคยเห็นท่อดับเพลิงสองหัว ซึ่งบางคนจะทราบว่า มันมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ (และเข้าใจว่าอีกหลายภาษา เพราะภาษาฝรั่งเศสก็เรียกเช่นนี้ด้วย) ว่า “Siamese Connection”
บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2563
พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม เรื่อง   ทราบกันไหมครับว่า ปรีดี พนมยงค์ คือผู้ที่ริเริ่มให้มีการวางรากฐานธนาคารชาติขึ้นเป็นครั้งแรก สำหรับผู้สนใจประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเงิน กำเนิดธนาคารแห่งประเทศไทยนั้นมีเรื่องราวความเป็นมาที่น่าสนใจไม่น้อย ทั้งนี้เนื่องจากก่อนการจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย ได้เกิด ‘สภาพปฐมแห่งธนาคารกลาง’ หรือที่เรียกว่า ‘สำนักงานธนาคารชาติไทย’ ขึ้นมา ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นความพิเศษของประวัติศาสตร์ธนาคารกลางที่ไม่เหมือนใครในโลก
บทบาท-ผลงาน
27
มีนาคม
2563
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เรื่อง   “คืนนั้นผมเข้านอนปรกติ ถึงเวลาเขามาปลุก บอกว่า ไปกันเถอะ แล้วต่างคนต่างแยกย้ายไปตามจุดนัดหมายตัวเอง ทุกหมู่เหล่ามีชาวบ้านอย่างเราไปอยู่ด้วย ถนนราชดำเนินตอนนั้นเงียบมาก พี่ชายบอกว่า เดี๋ยวมีคนเอาปืนมาให้ ผมคิดอย่าเดียวว่า ตั้งใจมาทำงานให้สำเร็จ เขาสู้ก็สู้กับเขา ตายก็ตาย…” กระจ่าง ตุลารักษ์ คณะราษฎรคนสุดท้าย ผู้อยู่ในเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง หวนรำลึกเหตุการณ์ในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ระหว่างให้สัมภาษณ์นิตยสาร สารคดี ก่อนเสียชีวิตไม่นาน
บทบาท-ผลงาน
24
มีนาคม
2563
ประจักษ์ ก้องกีรติ เรื่อง ผมเชื่อว่าผู้อ่านส่วนใหญ่คงเคยได้ยินคำกล่าวที่พูดกันติดหูว่า “ผู้ชนะคือผู้เขียนประวัติศาสตร์” แต่ในสังคมไทยของเรา เรื่องราวกลับไม่ได้ดำเนินไปเช่นนั้น เพราะสิ่งที่เรียกว่า “ประวัติศาสตร์” ซึ่งคือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไปแล้วให้คนรุ่นหลังได้จดจำนั้น ช่างเต็มไปด้วยความยอกย้อนและซ่อนเงื่อน ผู้ชนะในสมรภูมิทางการเมืองบ่อยครั้งกลับพ่ายแพ้ในสมรภูมิการเขียนประวัติศาสตร์
Subscribe to บทบาท-ผลงาน