ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2566
ทรรศนะทางการเมืองต่อเรื่องกลไกประชาธิปไตย เพื่อส่งใจความไปถึงเหล่าองคาพยพทางการเมืองทุกฟากฝ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจขึ้นมาได้จากการใช้อำนาจนอกระบอบ กุหลาบชี้ชัดให้เห็นว่าระบบการเมืองที่มั่นคงและตั้งตรงด้วยหลักการ จะเป็นเสมือนปราการที่คอยป้องกันมิให้สิ่งไม่ดีเกิดขึ้นในระบบการเมืองได้น้อยครั้งที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
31
มีนาคม
2566
118 ปี ชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์ เจ้าของนามปากกา 'ศรีบูรพา' ย้อนอ่าน ผ่านเรื่อง "หนังสือพิมพ์ในประเทศประชาธิปไตย"
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2566
เอกชัย ไชยนุวัติ ชวนสำรวจนิยามของประชาธิปไตย รวมไปถึงหนทางสำหรับการต่อต้านระบอบเผด็จการ ผ่านการสถาปนาอำนาจอธิปไตย กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ฝ่ายตุลาการ อันมีหัวใจสำคัญที่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอำนาจ ด้วยหลักการห่วงโซ่แห่งความชอบธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
Subscribe to ประชาธิปไตย