ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤษภาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' ได้บอกเล่าถึงความเอาใจใส่ที่มีต่อชาติและราษฎรไทย โดยกล่าวว่า "ความเพ่งเล็งเอาใจใส่ของ 'ดร.ปรีดี พนมยงค์' อย่างล้ำลึกและจำหลักหนักแน่นในทุกกรณีในทุกปัญหา ไม่ว่าจากข้อเขียนของท่าน หรือ จากการสนทนาพาที
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2565
คุณรู้หรือไม่? กว่าจะเป็น "สวนลุมพินี" อย่างที่เห็นกันทุกวันนี้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของบริเวณนี้เคยเป็น "สวนสนุก" มาก่อน ในบทความนี้ ผู้เขียนจะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ไปทำความรู้จักกับที่มาว่ากว่าจะมาเป็นสวนลุมพินีที่อย่างที่เห็น ซึ่งมาปรับเปลี่ยนในสมัยรัฐบาลคณะราษฎร อันมี 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์' เป็นเจ้ากระทรวงมหาดไทย
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้ย้อนเรื่องราวถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ผูกเงินบาทเข้าไว้กับเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษมาอย่างยาวนาน ซึ่งการกระทำเช่นนี้นั้น ไม่เป็นผลดีต่อเสถียรภาพเงินตราและความมั่นคงของชาติอย่างแท้จริง
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2565
'พยุง ย.รัตนารมย์' บอกเล่าถึงความเป็นมาของโรงงานยาสูบ ซึ่งเป็นผลงานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่งที่บุกเบิกโดย 'ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เมื่อภายหลังได้สถาปนา "ประมวลรัษฎากร" และมีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ โดยภาษีสรรพสามิต (บุหรี่, ยาสูบ) ถูกระบุให้เป็นภาษีทางอ้อม
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2565
'อิทธิพล โคตะมี' ชวนให้ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงสภาวะที่ยากแค้นของราษฎรในแผ่นดินสยาม กับกระบวนการสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำจนส่งผลโดยตรงต่อความทุกข์ยากของราษฎร
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์