ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2566
ข้อเขียนจากมุมมองของ ‘หนิ่ง’ ธิดาคนสุดท้องของท่านชิ้น หรือ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน เล่าถึงบรรยากาศและความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวที่เกิดขึ้นตลอดที่ ‘พ่อ’ กลับมาอยู่ที่ไทยหลังสงครามโลกสิ้นสุดลง
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2566
ภายใต้ความมืดมิดและอับเฉา และสิ่งที่เป็นลบหลายประการในสังคม ชีวิตและพฤติการณ์ของ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ กลับเป็นประหนึ่งแสงสว่างอันจัดจ้าจุดหนึ่ง ในท่ามกลางความเลวร้ายอันมืดมิด ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้บำเพ็ญตนให้แก่ชาติบ้านเมือง พยายามแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม และขจัดภาวะความเสียเปรียบของคนส่วนข้างมากให้หมดไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
Subscribe to ป๋วย อึ๊งภากรณ์