ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2567
บันทึกความทรงจำเรื่อง “ตำรวจเชลย” ที่มีบทบาทในการปราบกบฏบวรเดช โดยผ่านหลักฐานความทรงจำและหลักฐานชั้นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์เขียนจดหมายถึงนายประเสริฐ ปัทมสุคนธ์ อดีตเลขาธิการรัฐสภา เพื่อแสดงทัศนะและเสนอแนะต่อหนังสือรัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เน้นการอธิบายและชี้แจ้งเกี่ยวกับรายงานการประชุมกรรมานุการ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2476 และกรณีเค้าโครงการเศรษฐกิจหรือสมุดปกเหลือง รวมถึงเรื่องสภาเศรษฐกิจแห่งชาติที่แตกต่างจากหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าฯ
บทบาท-ผลงาน
17
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงฯ ตอนที่ 8 ของนายปรีดี พนมยงค์เสนอว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรีเล่มนี้บิดเบือนในประเด็นสำคัญคือ แต่งเรื่องขึ้นว่าในหลวงทรงรับสั่งถึงการไม่มีพระราชโอรส ฯลฯ ในวันที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้า
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2476 และมีส่วนสำคัญในการวางรากฐานงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
3
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 1 เสนอให้เห็นการสร้างอุดมการณ์ของคณะราษฎรผ่านนโยบาย และสัญลักษณ์โดยเฉพาะการดำเนินตามหลัก 6 ประการซึ่งคณะราษฎรเร่งสร้างระบอบใหม่ด้วยการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นหลัก
บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2567
การเสวนาในวาระ 100 ปีชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ เสน่ห์ จามริก ได้กล่าวถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 แสดงความสำคัญของหลักการเหนือตัวบุคคล การผนึกกำลังข้ามกลุ่ม ใช้ "หลักการปลดปล่อยสู่อิสระ" พัฒนาการเมือง เป็นจุดเริ่มต้นสิทธิเสรีภาพ อีกทั้งหลักการของคณะราษฎรที่ยังคงคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
31
มีนาคม
2567
วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว