พูนศุข พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2563
ม.จ.อัปภัศราภา เทวกุล ได้เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ในช่วงนี้ไว้ได้อย่างน่าสนใจ
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
18
กรกฎาคม
2563
เมื่อ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ จากไป สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตฺโต) ได้เขียนข้อความรำลึก และให้ข้อธรรมเป็นข้อคิดว่า
"ในชีวิตที่เหลืออยู่นี้ ทุกคนควรทำกิจหน้าที่ และไม่พึงประมาท"
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
17
กรกฎาคม
2563
ประวัติ
วาณีเป็นน้องคนสุดท้องของครอบครัว เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2484 ที่บ้านป้อมเพชรนิคม หลังจากเกิดได้ไม่กี่เดือน สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็แผ่มาถึงประเทศไทย สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาหารือกันแล้วลงมติตั้งคุณพ่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครอบครัวจึงย้ายไปพำนักที่ทำเนียบท่าช้างซึ่งทางราชการจัดให้
ในขั้นต้น วาณีเรียนที่โรงเรียนดรุโณทยานของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
บทความ • บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่
อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
กรกฎาคม
2563
ในปี 2526 หลังจาก ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร พระธิดาของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ได้อ่าน "ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์" หลังจากนายปรีดีถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว 'คุณท่าน' ได้ส่งจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
กรกฎาคม
2563
หลิวยู่ซี้ นักไวโอลินผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เขียนจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ หลังจากได้รับเชิญจากมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ให้มาแสดงที่เมืองไทยใน พ.ศ. 2537
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2563
ผมไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะได้รู้จักครอบครัวของท่านปรีดี พนมยงค์ เพราะผมไม่มีทางจะเข้าไปเกี่ยวข้องอะไรเลยไม่ว่าจะด้านใด ผมไม่ใช่นักศึกษาธรรมศาสตร์ ไม่ได้เรียนทางกฎหมายหรือการเมืองการปกครอง ไม่มีญาติหรือมีเพื่อนที่มีประวัติหรือลู่ทางที่จะเข้าไปรู้จักครอบครัวของท่านได้เลย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์
30
มิถุนายน
2563
ปรีดีคีตานุสรณ์เป็นผลงานประพันธ์ทางดนตรีของสมเถา สุจริตกุล ประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ซึ่งทางองค์การยูเนสโก สหประชาชาติ ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสําคัญของโลกในปี ค.ศ. 2000
วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ได้นํา “ปรีดีคีตานุสรณ์” ออกแสดงเป็นรอบปฐมทัศน์ที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 โดย สมเถา สุจริตกุล ผู้ประพันธ์ได้ทําหน้าที่เป็นผู้อํานวยเพลง ซึ่งได้รับความสําเร็จอย่างงดงาม