ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 5

ชีวิต-ครอบครัว
24
มีนาคม
2567
เมื่อเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัย ปลายเกิดความเหงาคิดถึงพ่อแม่ ในช่วงปิดภาคฤดูร้อน ปลายได้เดินทางกลับบ้าน และได้ฟังเรื่องเล่าคนเวียดนามในการต่อสู่เพื่อเอกราชจากผู้เป็นพ่อ
แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2566
ระเบียบแบบแผนการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งของรัฐบาลรวมศูนย์ของประเทศไทยครั้งยังอยู่ในการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ที่มีการปรับปรุงระบบราชการ เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนายปรีดี พนมยงค์กับความเป็นมาของสูทสีกรมท่าตัวโปรดอันเป็นภาพคุ้นตาตามที่ได้ถูกบันทึกไว้ในขณะที่นายปรีดีใช้ชีวิตและลี้ภัยทางการเมือง ณ ต่างแดน นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าพัฒนาการโดยย่อของประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายที่เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ราวต้นศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของแฟชั่นชุดสูทแบบสากล
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
13
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ
Subscribe to รัชกาลที่ 5