ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 5

บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' เล่าถึง เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' ตั้งแต่ที่ตนเองอายุเพิ่งจะ 10 กว่าขวบ จนเมื่อผ่านกาลเวลาและได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการนักหนังสือพิมพ์ สุภาในฐานะของลูกศิษย์ ยกย่องกุหลาบด้วยความเคารพและเชิดชู ในฐานะของ "ครู" ผู้สอนสั่งความเป็นนักหนังสือพิมพ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2564
พญาฟ้างุ่มตั้งตัวเป็นอิสระเมื่ออำนาจการปกครองขอมอ่อนแอและกำลังดำเนินไปสู่ความเสื่อมสลาย เช่นเดียวกับอาณาจักรสุโขทัยที่ได้สถาปนาขึ้นก่อนหน้านี้
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2564
กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่มีบทบาทสำคัญและส่งทอดอิทธิพลต่อแนวความคิดทางการเมืองของนายปรีดี พนมยงค์ หากแต่ไม่ค่อยเป็นที่รับรู้กันเท่าไหร่
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2564
‘ก.ศ.ร. กุหลาบ’ และ ‘เทียนวรรณ’ เป็นบุคคลร่วมสมัยที่เกิดในรัชกาลที่ 3 และเติบโตในขณะที่อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกกำลังแพร่สะพัดอยู่ในสังคมระดับสูง ถึงแม้ว่าบุคคลทั้งสองจะมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ในทางราชการก็ตาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มิถุนายน
2564
ภายในช่วงระยะเวลาประมาณ 60 ปี นับตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ได้ทรงขึ้นครองราชย์สมบัติเมื่อ ปี พ.ศ. 2411 จนถึงก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 นั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีพัฒนาการของแนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจรัฐไปอย่างรวดเร็ว
Subscribe to รัชกาลที่ 5