รัชกาลที่ 5
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
1
ธันวาคม
2565
"คินีและทูรันโดต์" บอกเล่าเรื่องราวเจ้าหญิงทูรันโดต์ผู้เย็นชาและไม่ศรัทธาในความรัก การจะอภิเษกกับเจ้าหญิงต้องถูกทดสอบโดยตอบปริศนา 3 ข้อ หากตอบข้อใดผิดชายผู้นั้นจะต้องถูกบั่นศีรษะ เนื้อเรื่องดำเนินไปอย่างซ่อนเร้นนัยที่แอบแฝงไว้ และชวนให้ผู้ชมได้ตีความผ่านมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2565
ต้นทศวรรษ 2470 ได้ปรากฏการฟ้องร้องคดีขึ้นกรณีหนึ่ง โดยเป็นข้อพิพาทระหว่างผู้นับถือศาสนาอิสลามลัทธิเจ้าเซ็นหรือที่เรียกขานว่า “แขกเจ้าเซ็น” และบริเวณที่ดินของ “กระฎี” ท้ายที่สุด ทั้งฝ่ายโจทก์และจำเลยต่อสู้กันถึงชั้นศาลฎีกาต้องพิจารณาตัดสินชี้ขาด จนประกาศเป็นคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 931 พ.ศ. 2473
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
ตุลาคม
2565
พอว่ากันเรื่องเกาะที่เป็นถิ่นกำเนิดของ กูร์นาห์ จู่ๆ ผมก็ระลึกถึง นายปรีดี พนมยงค์ คุณผู้อ่านคงขมวดคิ้วสงสัย เอ๊ะ! นายปรีดี ไปเกี่ยวข้องอะไรกับแซนซิบาร์?
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2565
ฐานคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ว่าด้วยการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ คือ "ความเป็นกลาง" อันเป็นฐานคิดซึ่งอยู่ภายใต้กรอบหลักการสำคัญ คือ "แนวคิดสันติภาพ" โดยทัศนะดังกล่าวแสดงออกผ่านบทสัมภาษณ์ซึ่งเป็นการสนทนาระหว่างนายปรีดีกับสำนักข่าวไทยและต่างประเทศ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2565
หนึ่งชีวิตที่ผ่านเรื่องราวนานัปการซึ่งเป็นหนึ่งบันทึกในบรรทัดประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาทิเช่น บทบาทสำคัญในปฏิบัติการเสรีไทยสายอังกฤษที่ทำให้แผ่นดินสยามคงไว้ซึ่งเอกราช จวบเมื่อแผ่นดินรัชกาลที่ 9 ภายหลังเกิดการรัฐประหาร 2490 ท่านชิ้นได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศ และกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนอีกครั้งใช้ชีวิตอยู่ที่ "สวนเสมา" สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
ข่าวสาร
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to รัชกาลที่ 5
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ