ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
11
มกราคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอแนะให้รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ควรคำนึงถึงการที่วุฒิสภาคัดค้านพระราชบัญญัติงบประมาณเพิ่มเติม พ.ศ. 2492 ที่เกิดจากความไม่น่าเชื่อถือในการบริหารจัดการงบประมาณแผ่นดินของรัฐบาล
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
Infographic ปฐมบทประชาธิปไตยในสยาม พ.ศ. 2427-2478 เสนอให้เห็นถึงลำดับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2567
การอภิปรายในรัฐสภาสิ่งสำคัญของการอภิปรายคือ การแถลงและอภิปรายนโยบายของรัฐบาลในการปกครองประเทศนับว่าเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ที่แท้จริงของประชาชน แต่การสาบาลซ้ำของรัฐบาลในรัฐสภากลับเป็นการสร้างความไม่น่าเชื่อถือให้กับประชาชนในพื้นที่รัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
3
สิงหาคม
2567
การแปลบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายอันสูงสุดของประเทศนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประชาชน หากมีการตีความกฎหมายไปในทางที่ผิด อาจส่งผลเสียเป็นวงกว้างอย่างมาก ฉะนั้นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนจึงมีความสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
4
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 2 เสนอให้เห็นการจัดตั้งคณะราษฎรผ่านหลักการของผู้ก่อการคนสำคัญ อาทิ นายปรีดี พนมยงค์ และสรุปได้ว่าการอภิวัฒน์ 2475 นํามาซึ่งการสิ้นสุดของอุดมการณ์แห่งรัฐ (state ideology) ราษฎรกลายมาเป็นมูลฐานแห่งอํานาจและความชอบธรรมแทนสถาบันพระมหากษัตริย์โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นตัวสัญลักษณ์
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวถึงความหมายและขอบเขตของเสรีภาพตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ รวมทั้งวิพากษ์วิจารณ์ข้อบกพร่องของกฎหมายบางฉบับที่ละเมิดเสรีภาพของประชาชน และเสนอแนวทางในการกำหนดขอบเขตเสรีภาพที่เหมาะสม
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2567
พริษฐ์ วัชรสินธุ วิพากษ์วิจารณ์บทบาทวุฒิสภาชุดเก่าในการแทรกแซงการเมือง ขัดขวางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรียกร้องให้ส.ว.ชุดใหม่ไม่ผูกมัดอนาคตประเทศ ส่งเสริมประชาธิปไตยและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2567
วุฒิสภาในรัฐธรรมนูญปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีอำนาจเหนือสภาผู้แทนราษฎร และไม่มีความเชื่อมโยงกับประชาชน หากต้องการให้วุฒิสภาชุดใหม่มีความชอบธรรมมากขึ้น ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลและมีส่วนร่วมในกระบวนการสรรหามากขึ้น
Subscribe to รัฐธรรมนูญ