ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
2
ธันวาคม
2565
บทความนี้ชวนให้พิจารณาถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยพิจารณาผ่านทฤษฎี "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" ซึ่งว่าด้วยการกำเนิดขึ้นของรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ อีกทั้ง "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญที่ได้รับมา" ทฤษฎีว่าด้วยอำนาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และข้อจำกัดในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
28
พฤศจิกายน
2565
วันเสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 09.00 - 12.30 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์    
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เคยกล่าวคำปราศรัยต่อธรรมศาสตร์บัณฑิตและและเนติบัณฑิต นักสันติภาพ เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2514 ณ ชานกรุงปารีส โดยมีใจความถึงเรื่องราวที่พึงระลึกอันเป็นความหลังเมื่อครั้งที่บัณฑิตทั้งหลายได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2565
ห้วงเวลาก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ปรากฏความตื่นตัวของกลุ่มคนในสังคมไทยจำนวนไม่น้อยที่ปรารถนาให้ประเทศของพวกตนได้ปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญแทนที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยิ่งเฉพาะในกลุ่มของผู้ทำงานด้านกฎหมายเยี่ยงพวกทนายความแล้ว ก็จะแสดงออกความคิดเห็นและเคลื่อนไหวเรียกร้องให้บ้านเมืองมีสิ่งที่เรียกว่า “ประชาธิปไตย” อย่างแข็งขัน
แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.” พุทธทาสภิกขุ
แนวคิด-ปรัชญา
10
มกราคม
2565
ในรัฐสมัยใหม่นั้นรัฐธรรมนูญมีความสำคัญใน 2 ฐานะ ประการแรก รัฐธรรมนูญทำหน้าที่เป็นตราสารกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐทั้งสาม ประการที่สอง รัฐธรรมนูญทำหน้าที่เป็นตราสารกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
5
มกราคม
2565
“สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นรัฐประชาธิปไตยและเป็นสังคมรัฐ” (Die Bundesrepublik Deutschland ist ein demokratischer und sozialer Bundesstaat.)
บทบาท-ผลงาน
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ
Subscribe to รัฐธรรมนูญ