ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
31
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง พลวัตของสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนูญไทย ซึ่งปรากฏการกำหนดสภาพบังคับในเชิงป้องกันการละเมิดจากอำนาจรัฐ และสิทธิเรียกร้องต่อรัฐให้บังคับตามสิทธิ อันเป็นคุณค่าพื้นฐานของพลเมืองดังบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ทว่า สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่ถูกรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยชัดแจ้ง กลับมีจุดหักเหเมื่อรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ได้ถือกำเนิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อ "มุมมอง" ตลอดจน "การตีความ"
แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของหลักการสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนคำอธิบายและนิยามของหลักการดังกล่าวซึ่งเชื่อมร้อยต่อกันในทางกฎหมาย นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าถึงจุดเริ่มต้นของสิทธิเสรีภาพในภูมิทัศน์การเมืองไทย ซึ่งปรากฏการตีความบทบัญญัติในกระบวนการยุติธรรมอันนำไปสู่การไร้สภาพบังคับทางกฎหมาย โดยยกกรณีศึกษาผ่านคำวินิจฉัยของคำพิพากษาในคดีต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ กล่าวถึงความเหลื่อมล้ำทางเพศที่เกิดขึ้นต่อสตรีและกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ พร้อมยกกรณีตัวอย่างซึ่งเป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการรองรับในทางกฎหมายที่ยังมีช่องว่างและไม่ทั่วถึงทุกๆ คน
9
มกราคม
2566
ข่าวการจัดงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” ขึ้น ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566
แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
บทบาท-ผลงาน
28
ธันวาคม
2565
"เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" ผลงานจากปลายปากกาของ 'หฤษฎ์ มหาทน' หรือ 'StarlessNight' หนึ่งในนักโทษทางความคิดของรัฐไทย โดยผู้เขียนได้ทบทวน "อุดมการณ์ทางการเมือง" และ "ความมุ่งมาดปรารถนา" ของหฤษฎ์ที่ได้ถ่ายทอดลงสู่ทุกๆ ตัวอักษร จนวรรณกรรมเล่มดังกล่าวได้กลายเป็นอาวุธทางความคิดเพื่อปลูกฝังคุณค่าของประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2565
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475" ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
ธันวาคม
2565
ย้อนกลับไปยัง "งานฉลองรัฐธรรมนูญ" ในปี พ.ศ. 2483 อันปรากฏร่องรอยประวัติศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" ซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกับกองศิลปากรในการประกวดเคหสถาน กิจกรรมในคราวนั้นก็เพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรมความเจริญของชาติในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2565
พัฒนาการของการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในทางเศรษฐกิจ ผ่านรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ ที่เริ่มต้นนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 อีกทั้งการเกิดขึ้นของบทบัญญัติแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐอันเป็นแนวทางคุ้มครองสิทธิและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทว่า การรัฐประหารได้ทำให้หลักการดังกล่าวนั้นพร่าเลือนลงไป อันเนื่องมาจากความถดถอยของความเป็นประชาธิปไตย
Subscribe to รัฐธรรมนูญ