ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2566
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญจังหวัดจันทบุรี ฉายภาพให้เห็นถึงความตื่นตัวและความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรในท้องถิ่นกับระบอบใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์รายละเอียดและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของอนุสาวรีย์แห่งนี้ซึ่งสะท้อนความทรงจำของการระบอบใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ตั้งข้อสังเกตเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
Subscribe to รัฐธรรมนูญ