ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2567
คำว่า “ปฏิวัติ”, “รัฐประหาร“, “วิวัฒน์“ และ”อภิวัฒน์” ในทางวิทยาศาสตร์สังคม มีฐานจากของศัพท์คำว่า “Revolution“ (เรฟโวลูชัน) ซึ่งหมายคำว่า การเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2567
17 กุมภาพันธ์ 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับ ความจริงเกี่ยวกับขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2566
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวถึงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม และปรากฏการณ์การเคลื่อนไหวผ่านการมองประวัติศาสตร์ช่วงยาวทั้งในบริบทสังคมไทยที่เกิดขึ้นและเชื่อมกับบริบทสังคมโลกเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์ของขบวนการนักศึกษาที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2566
“รัฏฐาธิปัตย์” ที่มาจากการรัฐประหารโดยแยกช่วงเวลาออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงเวลาที่คณะรัฐประหารใช้อำนาจ รัฏฐาธิปัตย์โดยตรง และ ช่วงเวลาที่ใช้อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ในฐานะขององค์กรหรือสถาบันหนึ่งตามรัฐธรรมนูญชั่วคราวของตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
Subscribe to รัฐประหาร