ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนย้อนลำดับเหตุการณ์ มูลเหตุสำคัญของการรัฐประหารครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2566
ศ.พิเศษ หิรัญ รดีศรี ศิษย์ ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 8 ร่วมพูดคุยถึงวันวานและย้อนความทรงจำในรั้ว ต.ม.ธ.ก. เนื่องในวาระ 86 ปี การก่อตั้ง ต.ม.ธ.ก. 23 มีนาคม 2480
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2565
“รัฐธรรมนูญ” มีความสำคัญในทางการเมือง ในฐานะเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ และรัฐธรรมนูญยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดอุดมคติที่ต้องการให้เกิดขึ้นภายในประเทศด้วยเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2565
ความสำเร็จของการรัฐประหารกันยายน 2549 เป็นตัวอย่าง อันดีที่พิสูจน์ให้เห็นถึงความเปราะบางของระบอบการเมืองไทย
Subscribe to รัฐประหาร