ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2566
จิ๊กซอว์หนึ่งของชัยชนะในระยะยาวที่เด็ดขาด คือ (1) ประชาชนต้องกลับมาศรัทธาเชื่อมั่นในระบบรัฐสภาให้ได้ (2) เราต้องทำให้ชนะการเลือกตั้ง พรรคที่ได้อันดับ 1 ต้องชนะโดยการไม่ซื้อเสียงให้ได้ (3) ผู้แทนราษฎรในสภาต้องกลับไปเป็นผู้แทนราษฎรที่ทรงเกียรติแบบที่อยู่ในประวัติศาสตร์ให้ได้ และ (4) ต้องชนะความคิดให้ได้
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
26
มิถุนายน
2566
ในวาระ 91 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดเสวนา PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักการเมือง นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมเป็นผู้เสวนาในครั้งนี้ อาทิ พล.ท.
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนอ่านปฏิทินชีวิตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 123 ปี ชาตกาล (11 พฤษภาคม 2443 - 2566)
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
Subscribe to รัฐประหาร