ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2564
การยึดมั่นในหลักการปกครองโดยกฎหมาย การดำเนินการตามครรลองของระบอบประชาธิปไตยและใช้กลไกรัฐสภาแก้ปัญหาวิกฤติต่าง
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2564
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แล้ว ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระยะเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นนั้นยังมีความอ่อนแออยู่มาก
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2564
บ่ายวันพุธ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ณ ท่าเรือ บี.ไอ. ถึงแม้เป็นคิมหันตฤดูอันร้อนผ่าว กระนั้นฝูงชนนับพันยังคงมารอส่ง “ดร.ปรีดี พนมยงค์” มันสมองคณะราษฎรในวัย ๓๓ ปี ผู้จำต้องนิราศออกนอกประเทศหลังเหตุการณ์นายกรัฐมนตรีที่เจ้าตัวเลือกเฟ้นมากับมือชิงรัฐประหารปิดสภาเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖ จากเหตุปัจจัยการนำเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจสู่สภาที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2564
คำว่า Soft Power เราถูก Popularize ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ ถูกใช้กับอำนาจทางวัฒนธรรมของสหรัฐ ในช่วงที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง และพูดถึงเรื่องการศึกษาวัฒนธรรมดนตรี วัฒนธรรมหนังฮอลลีวูด ให้ความหมายในเชิงวัฒนธรรมค่อนข้างเป็นรูปธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ เจ้าของผลงานหนังสือ “หัวร่อต่ออำนาจ : อารมณ์ขัน และการประท้วงด้วยสันติวิธี” ผู้ที่มีความเชื่อว่า “ความคิดสร้างสรรค์จะเป็นอาวุธช่วยผ่าทางตันให้สังคมการเมืองออกจากกับดักทางความคิดที่ว่าเราไม่มีทางเลือกอื่นใดเมื่อเผชิญสถานการณ์ความขัดแย้ง นอกเสียจากการพุ่งรบด้วยกำลัง”
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 เป็นเครื่องเตือนให้รู้ว่า ตราบใดที่การแข่งขันทางการเมืองยังมิได้ขยายฐานแห่งอำนาจไปสู่ประชาชน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการใช้กำลังย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
Subscribe to รัฐประหาร