ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันรัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2566
‘นายชัยธวัช ตุลาธน’ กล่าวติดตามข้อสรุปที่นายนิกรในฐานะโฆษกของคณะกรรมการที่รัฐบาลแต่งตั้งนำเสนอและการแจ้งถึงคณะกรรมการจะมีการประชุมในวันที่ 25 ธันวาคม รวมถึงกรณีการไต่สวนคดีการปกครองของพรรคก้าวไกลที่ถูกฟ้องครั้งแรก ซึ่งสะท้อนประเด็นปัญหาการเมืองของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2566
‘นิกร จำนง’ ได้กล่าวประเด็นถึงอีกก้าวสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญที่เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการ ที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศชาติ ปรับโครงสร้างของชาติให้มั่นคง อีกทั้งยังทำหน้าที่ปรับแก้รัฐธรรมนูญอย่างต่อเนื่อง ในการประเทศชาติต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แนวคิด-ปรัชญา
21
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.นันทนา นันทวโรภาส’ เปิดประเด็นหลักการสำคัญและข้อเสนอในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการเชื่อมโยงกับประชาชน ปราศจากการครอบงำของอำนาจที่ไม่ชอบธรรม ซึ่งเป็นการได้มาของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน’ กล่าวถึง เหตุที่รัฐธรรมนูญปี 2560 จึงสมควรเป็นโมฆะ โดยกล่าวถึง ลักษณะที่แปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญ 2560 และมุมมองของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2566
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยคำถามสำคัญที่ว่า ทำไมต้องมีรัฐธรรมนูญของประชาชน? ก่อนจะกล่าวถึงปัญหา 3 ประการจากรัฐธรรมนูญปี 2560 และความสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนใหม่
13
ธันวาคม
2566
วันที่ 10 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา เนื่องในวาระวันรัฐธรรมนูญไทย “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ PRIDI Talks #23 x PBIC : รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญใหม่เพื่อประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
11
ธันวาคม
2566
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ ทายาทศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ กล่าวปาฐกถาถึงความสำคัญของวันรัฐธรรมนูญ บทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ ต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรก และความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ ในงานวันฉลองรัฐธรรมนูญ ประจำปี 2566 ณ อาคารรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
การนำเสนอรายงานการวิจัย เรื่อง ความคิดทางรัฐธรรมนูญและความมุ่งหมายทางการเมืองในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ : ศึกษาผู้ร่วมออกแบบร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2540, 2550, 2558 และ 2560 โดย ดร.ชาย ไชยชิต และ ดร.เอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
Subscribe to วันรัฐธรรมนูญ