ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันรัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2565
แม้จะมีบันทึกรายนามของวีรชนที่เสียชีวิตจากการปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น แต่จากการค้นคว้าของผู้เขียนยังคงไม่ปรากฏเอกสารที่กล่าวถึงวีรกรรมการต่อสู้ของครูลำยองอย่างเป็นทางการ มีเพียงเรื่องเล่าจากผู้ที่อยู่ร่วมในช่วงเวลาเดียวกัน
แนวคิด-ปรัชญา
14
ธันวาคม
2564
“รัฐสวัสดิการ” หรือ “สวัสดิการสังคม” นั้น เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเป็นจำนวนมาก และเป็นโจทย์สำคัญของประเทศไทยท่ามกลางการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ได้สะท้อนปัญหาการเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ทั้งการเข้าถึงสวัสดิการในการรักษาพยาบาล การว่างงาน เบี้ยยังชีพของคนชรา และการศึกษา และทำให้เกิดการตั้งคำถามถึง ระบบสวัสดิการของประเทศไทยนั้นมีอยู่อย่างไร และรัฐได้รับรองสิทธิในสวัสดิการไทยเอาไว้อย่างไร
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ธันวาคม
2564
“การประกวดการแต่งเรือในคลองหลอด” ระบุวันประกวดตรงกับวันอังคารที่ 9 และวันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2484 แต่ถ้ามีเรือส่งเข้าร่วมประกวดจำนวนมากก็จะขยายวันเพิ่มเติมอีก 1 วันคือ 11 ธันวาคม จะเริ่มประกวดตั้งแต่เวลา 14.00 น.
บทบาท-ผลงาน
22
ธันวาคม
2563
ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน ตั้งข้อสังเกตถึงการศึกษาทางรัฐธรรมนูญที่จะช่วยสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย พร้อมทั้งให้แง่คิดบทเรียนจากชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
18
ธันวาคม
2563
อย่าสร้างสังคมเกินจริงโดยไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมการเมืองไทย และทำอย่างไรให้พลังทางการเมืองที่มีอยู่หลากหลายดำรงอยู่ด้วยกันได้โดยที่ไม่ทำลายสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
17
ธันวาคม
2563
คุณค่าของรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับนั้นควรค่าแก่การศึกษา แต่อย่างไรก็ดี เวลาเราศึกษารัฐธรรมนูญในเชิงประวัติศาสตร์ เราต้องไม่ลืมว่า บริบททางสังคมประวัติศาสตร์ไม่เหมือนกัน
บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2563
เป็นที่ทราบกันดีว่า นายปรีดี พนมยงค์ ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ด้วยเหตุผลทางการเมืองที่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นบุกไทยแล้ว ไม่ต้องการให้นายปรีดีมีบทบาททางการเมือง แต่ก็ไม่อยากให้ประชาชนไม่พอใจ จึงผลักดันรัฐบาลไทยให้นายปรีดีเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
Subscribe to วันรัฐธรรมนูญ