ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศุขปรีดา พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางเพื่อแสวงหาเป้าหมายแห่งชีวิต คือ การศึกษาสั่งสมหาความรู้เพื่อตอบสนองต่อเจตจำนงที่ตนได้ตั้งไว้ ตลอดช่วงเวลาดังกล่าวนักปฏิวัติผู้นี้มิได้เคยย่อท้อต่อความยากลำบาก หากฝ่าฟันทุกอุปสรรคและเก็บเกี่ยวทุกประสบการณ์เพื่อประกอบกับการกอบกู้เอกราช
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2566
"ลุงโฮ" บอกเล่าเรื่องราวชีวประวัติในช่วงปฐมวัย อันเป็นชีวิตที่แวดล้อมไปด้วยปัจจัยรอบด้าน ทั้งสภาพสังคมที่แร้นแค้น ประกอบกับการขูดรีดทางชนชั้นจากเจ้าอาณานิคมที่เกิดขึ้นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ทำให้โฮจิมินห์เติบโตขึ้นมาท่ามกลางครอบครัวที่ต้องต่อสู้เพื่อความยุติธรรมในสังคม สิ่งต่างๆ นานัปการได้จุดประกายให้เด็กชายผู้นี้บ่มเพาะเจตนารมณ์ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2565
นายพลนามว่า 'หวอเหงียนย้าป' จะยังคงเป็นชื่อที่อยู่คู่แผ่นดินเวียดนามและเคียงข้างนาม 'โฮจิมินห์' ตลอดกาล มิใช่ด้วยเหตุผลยศถาอันยิ่งใหญ่ แต่เพราะคุณูปการที่นักอภิวัฒน์ผู้นี้ได้เคยกระทำไว้ให้แก่ชาติเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ได้กลายเป็นอนุสรณ์ให้ชาวเวียดนามและโลกได้ระลึกถึงตราบนานเท่านาน สมดังเป็น "ทหารอาวุโสผู้เป็นอมตะนิรันดร์กาล"
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
พฤศจิกายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ตอนที่ 14 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : สมรภูมิเวียดนามใต้ การตรากตรำทำงานอย่างหนักของ หวอเหงียนย้าป มาตั้งแต่วัยหนุ่มตลอดจนการรับหน้าที่บัญชาการในสงครามปลดปล่อยภาคใต้ ทำให้สุขภาพของท่านเริ่มทรุดโทรมถดถอยไปมาก โดยเฉพาะขณะที่ท่านมีอายุได้ 63 ปี คือในปี 1974 ขณะการรบปลดปล่อยขั้นแตกหักได้ก้าวเข้าสู่ชัยชนะในขั้นสุดท้ายแล้ว
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา การแทรกแซงของอเมริกาเป็นไปอย่างเต็มรูปแบบ ด้วยการส่งทหารอเมริกันเข้ามาปฏิบัติการรบ และได้มีการแต่งตั้งให้พลเอก เวสต์ มัวร์แลนด์ เป็นผู้บัญชาการ สำหรับนายพลอเมริกันผู้นี้ก็ดูเหมือนไม่มีความสามารถอะไรเป็นพิเศษ นอกจากเรียกร้องให้ทางประธานาธิบดีส่งทหารเพิ่มเติมเข้ามาตลอดเวลา
ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
ตุลาคม
2565
จากชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู นำมาซึ่งข้อตกลงเจนีวา ปี ค.ศ. 1954 นั้น มีการระบุไว้ว่าปี ค.ศ. 1956 ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวียดนามภาคใต้ เพื่อตัดสินว่าจะเข้ารวมประเทศเป็นเอกภาพกับเวียดนามภาคเหนือ หรือจะให้เวียดนามภาคใต้ดำเนินรูปแบบการปกครองอย่างหนึ่งอย่างใด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ตุลาคม
2565
ผลพวงจากข้อตกลงหลังเสียงปืนแห่งสงครามสงบลง คือการใช้เส้นขนานที่ 17 แบ่งแยกดินแดนและการปกครอง ส่งผลให้กำลังพลที่ตกค้างในแต่ละพื้นที่ต้องเคลื่อนย้ายสู่ดินแดนที่ถูกกำหนดไว้ภายใต้สภาพการณ์หลังการสงบศึก
Subscribe to ศุขปรีดา พนมยงค์