ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศุขปรีดา พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
เมษายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : สงครามซีไอเอ นับตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 1970 เป็นต้นมา “ฝ่ายแนวลาวรักชาติ” เสนอให้มีการประชุมกับ “ฝ่ายเวียงจันทน์” ซึ่งส่วนใหญ่ก็ยังเป็นพวกปะติกานฝ่ายขวา สำหรับฝ่ายเป็นกลางอย่างแท้จริงที่สนับสนุน เจ้าสุวันนะพูมา นั้นก็มีความเห็นชอบแนวนโยบายของฝ่ายแนวลาวรักชาติ และเข้าร่วมด้วย อาทิเช่น พันเอกเดือน สุนนะลาด เป็นต้น ซึ่งในเวลาต่อมาก็เข้าเป็นฝ่ายแนวลาวรักชาติเต็มตัว
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มีนาคม
2565
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ปิดฉากลง หน่วยงานที่ก่อตัวขึ้นทั้งหลายจึงถูกยุบไป จนเมื่อเกิดสงครามเย็นระหว่างอเมริกากับโซเวียตที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ฟากฝั่งอเมริกาจึงได้จัดตั้ง "ซีไอเอ" ขึ้นมาอีกครั้ง โดยสมาชิกส่วนหนึ่งนั้นมาจากอดีตโอเอสเอส แต่วัตุประสงค์การจัดตั้งคราวนี้เปลี่ยนแปลงจากเดิมไปสิ้นเชิง โดยในครั้งนี้ได้มุ่งเน้นต่อต้าน “คอมมิวนิสต์” ให้ถึงที่สุด
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มีนาคม
2565
ฝ่ายแนวลาวรักชาติได้ขยายกองกำลังเติบใหญ่ขึ้นในพื้นที่ พวกฝ่ายตรงข้ามภายใต้การสนับสนุนอุ้มชูของจักรวรรดินิยมอเมริกาเสนอให้มีการประชุมที่เจนีวาในกลางปี ค.ศ. 1961 เพื่อหยุดยิงและนำไปสู่ความปรองดองแห่งชาติ แต่ข้อเสนอเปิดประชุมดังกล่าวก็ยังมีวาระซ่อนเร้นแอบแฝงอยู่
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กุมภาพันธ์
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : เส้นทางหลบหนี   เช้าตรู่ของวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) ขณะชาวนครหลวงเวียงจันทน์ตื่นนอนตอนเช้าก็พบว่าเกิดรัฐประหารยึดอำนาจรัฐแล้ว นำโดย ร้อยเอกกองแล โรรัง ผู้บังคับกองพันราบอากาศ พร้อมด้วย ร้อยโทเดือน สุนนะลาด รอง ผ.บ. พัน และร้อยตรีเทียบ ลิดทิเดด มีสารวัตรทหารส่วนหนึ่งเข้าร่วมทำการ และสมทบด้วยทหารอีกส่วนจากค่าย “จินายโม้” รวมกำลังพลประมาณ 800 คน  
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กุมภาพันธ์
2565
ความขัดแย้งในหมู่ฝ่ายขวาเปิดโอกาสแก่แนวลาวรักชาติ โดยเฉพาะบรรดาสหายที่ถูกคุมขังในคุกโพนเค็งให้สามารถแหกคุกและหลบหนีออกมาได้ด้วยความสำเร็จอย่างงดงาม กรณี “คุกโพนเค็ง” และ “เส้นทางหลบหนี” ก็จักต้องจารจารึกไว้ในประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ปลดปล่อยชาติของฝ่ายแนวลาวรักชาติชั่วกาลนาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กุมภาพันธ์
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว: กองพันที่ 1 และกองพันที่ 2 แห่งกองกำลังปเทดลาว กองพันที่ 2 สามารถแหวกวงล้อมเดินทางกลับยังฐานที่มั่นแขวงหัวพันสำเร็จ ส่วนกองพันที่ 1 ก็กลับเข้าสู่ฐานที่มั่นแขวงพงสาลีได้เช่นกัน ทำให้ฝ่ายขวาเกิดความวิตกกังวลเป็นอย่างยิ่ง ผุย ชนะนิกอน ออกคำสั่งให้ตำรวจที่เวียงจันทน์ล้อมบ้านพักของแนวลาวรักชาติ มิให้เคลื่อนไหวไปมาโดยเสรี ผู้คนที่จะเข้าเยี่ยมต้องได้รับอนุญาตจากพวกตน
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว: ตอนที่ 5 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง: รัฐบาลแห่งความปรองดองแห่งชาติครั้งที่หนึ่ง “รัฐบาลผสมแห่งชาติ” เจ้ามหาอุปราชเพ็ดชะลาดผู้นำขบวนการกู้ชาติลาวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1945 (2488) ที่ถูกเจ้ามหาชีวิตถอดออกจากตำแหน่งเมื่อฝรั่งเศสกลับมายึดลาว ท่านจำต้องลี้ภัยในเมืองไทยร่วม 10 ปี จึงได้รับนิรโทษกรรมกลับคืนสู่อิสริยยศเดิม และได้เดินทางกลับลาวในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1957 (2500)
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว: ศุขปรีดาเล่าเรื่อง: ฐานที่มั่น, เขตปลดปล่อย . ผลแห่งข้อตกลง “เจนีวา” ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 (2497) โดยเฉพาะที่เป็นปัญหาเกี่ยวข้องกับลาวนั้นได้ข้อตกลงร่วมกันคือ 1. ฝ่ายลาวต่อต้านต้องนำกำลังที่มีอยู่ทั้งหมดไปรวมไว้ที่แขวงหัวพันและแขวงพงสาลี ตามเวลากำหนดภายใน 90 วัน 2. ฝ่ายลาวต่อต้านนำกำลัง 2 กองพัน จำนวนพลกองพันละ 750 นาย เข้ารวมกับกองกำลังเวียงจันทน์เพื่อเป็นกองทัพแห่งชาติ และจะได้รับยศทหารตามความเป็นจริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มกราคม
2565
ปลายเดือนธันวาคม ค.ศ.1949 (2492) หลังจากรอนแรมเดินทางบุกป่าฝ่าดงขึ้นเขาลงห้วยผ่านดินแดนลาวตัดเข้าสู่เวียดนาม เจ้าสุพานุวง ก็ได้มาถึงฐานที่มั่นจังหวัดเง่ห์อาน ในเวียดนาม ณ ที่นั่น ท่านได้พบกับ สหายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานคณะกรรมการลาวต่อต้านเขตภาคตะวันออกและภาคกลาง
Subscribe to ศุขปรีดา พนมยงค์