ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สถาบันปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2564
PRIDI Talks #13 รำลึก 45 ปี 6 ตุลาฯ “จากทุ่งสังหารถึงสำนักงานตั๋วช้าง” ตำรวจ-ทหาร กองทัพของราษฎร
2
ตุลาคม
2564
สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดอบรมภายใน เรื่องโซเชียลมีเดีย Workshop ให้กับทีมงานสถาบันปรีดี พนมยงค์ เมื่อที่ 30 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา
บทสัมภาษณ์
28
สิงหาคม
2564
‘ไพศาล พรหมยงค์’ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสมุทรปราการ คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ผู้ก่อตั้งมูลนิธิเด็กกำพร้า “บ้านอัลเกาษัร”
บทสัมภาษณ์
26
สิงหาคม
2564
การทำให้ชาติพ้นภัยต้องใช้กำลังใจกำลังกายจากหลายสาย  ไม่แม้แต่เฉพาะสายอังกฤษ สายอเมริกาหรือสายไทยกันเอง ถ้าทุกท่านที่อยู่ในไลฟ์นี้ติดตามตั้งแต่ตอนต้น เรามีวิดีทัศน์เรื่องการเดินสวนสนามของขบวนการเสรีไทย มีทั้งธงจากขอนแก่น มีทั้งธงจากทางอีสาน เพราะฉะนั้น ในวันนี้ 16 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2564 ครบรอบ 76 ปี เราได้คุยกันถึงเสรีไทยหลายสาย 
บทบาท-ผลงาน
17
สิงหาคม
2564
ลอร์ด เมานท์แบทเตน กล่าวว่า ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสแห่งสยามได้เป็นที่รู้จักของโลกในนาม “หลวงประดิษฐ์” มากกว่า และพวกเราหลายคนแห่งกองบัญชาการทหารสูงสุดสัมพันธมิตรภาคเอเชียอาคเนย์รู้จักเขาตามชื่อรหัสว่า “รู้ธ”
บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯ ได้ประกาศว่า การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ ในวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทยและฝ่าฝืนขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง
16
สิงหาคม
2564
วันที่ 16 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันสันติภาพไทย โดยในปีพ.ศ.
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2564
พ.ศ. 2489 ได้มีการตั้งชื่อ “นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า” หรือ “นกเขียวลออ” โดยสถาบันสมิธโซเนียน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนกชนิดนี้ถูกค้นพบโดย ‘เฮอร์เบิร์ต จี. เด็กแนน’
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัญหาสำคัญหนึ่งที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วคือปัญหาในด้านเอกราช เนื่องจากเอกราชที่ประเทศไทยมีอยู่นั้น ไม่ใช่เอกราชสมบูรณ์
Subscribe to สถาบันปรีดี พนมยงค์