ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สิทธิมนุษยชน

เกร็ดประวัติศาสตร์
12
มีนาคม
2567
สมชาย นีละไพจิต เป็นทนายความที่เสียสละ ทุ่มเท เพื่อส่วนรวมอย่างมาก โดยเฉพาะในการทำคดีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านสิทธิมนุษยชนภายใต้นามของ “สภาทนายความ“
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2567
ภาพรวมของสถิติ นิติรัฐ ความชอบธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในบริบทสากล ยังพบว่ามีความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เหตุการณ์รัฐประหาร ปี 2557 จนกระทั่งการเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักเรียน นิสิตนักศึกษาในปี 2563
แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2567
ในช่วงสุดท้ายของการเสวนา PRIDI Talks #24 “การต่อสู้เพื่อสิทธิและสันติภาพ“ ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล ได้ถามคำถามสำคัญจากผู้เข้าร่วมงาน และมีการกล่าวถึงสรุปประเด็นภาพรวมของสิทธิและสันติภาพในมุมของการทำงานและประสบการณ์ของแต่ละท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2567
ทนายแจม ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ จากบทบาททนายความความเพื่อสิทธิมนุษยชน นักการเมือง และความเป็นแม่ กับการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิของผู้หญิงและรัฐสวัสดิการของแม่และเด็กอย่างถ้วนหน้า
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2567
'ฐปณีย์ เอียดศรีไชย' กล่าวถึงประสบการณ์ในการทำงานด้านสื่อมวลชนในฐานะผู้หญิง กับความท้าทายในการทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่นับว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งการที่จะก้าวข้ามความกลัวได้ จะต้องมีความกล้าหาญในการนำเสนอประเด็นที่สนใจจนนำไปสู่การสร้างพื้นที่นำเสนอประเด็นเป็นของตัวเอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
15
มกราคม
2567
“สถาบันปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนา PRIDI Talks #24: 112 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “การต่อสู้ของผู้หญิงเพื่อสิทธิและสันติภาพ” ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี
7
มกราคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมรับฟังแนวทางการส่งเสริมหลักนิติธรรมในเวทีสาธารณะด้านหลักนิติธรรม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กันยายน
2566
การจัดงานรณรงค์และเฉลิมฉลองวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2566 เป็นวันเดียวที่จัดร่วมกันไปกับวันสากลชนเผ่าพื้นเมืองโลก (International Day of the World's Indigenous Peoples) ดังที่สหประชาชาติให้ความสำคัญ โดยมีขึ้นในวันพุธที่ 9 สิงหาคม 2566 ณ อาคารหอประชุมศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ “พลังเยาวชนชนเผ่าพื้นเมือง ร่วมสร้างสรรค์สังคมสู่การเปลี่ยนแปลง”
Subscribe to สิทธิมนุษยชน