ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุพจน์ ด่านตระกูล

ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2566
สุพจน์ ด่านตระกูล วิเคราะห์ผ่านบทความของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรืออีกนามปากกาหนึ่งคือ อิสรชน โดยวิพากษ์อคติและคำกล่าวหาของฝ่ายปฏิกิริยา อันบิดเบือนไปจากความมุ่งมาดที่แท้จริงของนายปรีดี พนมยงค์ ในการรื้อฟื้นแผนขุดคอคอดกระ อันเป็นความรุดหน้าไปนั้นดำเนินไปก็เพื่อผลประโยชน์ของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2565
เนื่องในวาระ 113 ปี ชาตกาล 'นายเตียง ศิริขันธ์' ขุนพลแห่งภูพานผู้ยิ่งใหญ่ และนักประชาธิปไตยผู้ต่อต้านเผด็จการ ผู้เขียนบอกเล่าถึงชีวประวัติย่อของ 'นายเตียง ศิริขันธ์' รวมไปถึงอิทธิพลความคิดทางการเมืองที่กรุยทางไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านระบอบเผด็จการ และปฏิบัติการขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2565
ฐานคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ว่าด้วยการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ คือ "ความเป็นกลาง" อันเป็นฐานคิดซึ่งอยู่ภายใต้กรอบหลักการสำคัญ คือ "แนวคิดสันติภาพ" โดยทัศนะดังกล่าวแสดงออกผ่านบทสัมภาษณ์ซึ่งเป็นการสนทนาระหว่างนายปรีดีกับสำนักข่าวไทยและต่างประเทศ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' เล่าถึง เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' ตั้งแต่ที่ตนเองอายุเพิ่งจะ 10 กว่าขวบ จนเมื่อผ่านกาลเวลาและได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการนักหนังสือพิมพ์ สุภาในฐานะของลูกศิษย์ ยกย่องกุหลาบด้วยความเคารพและเชิดชู ในฐานะของ "ครู" ผู้สอนสั่งความเป็นนักหนังสือพิมพ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
  วันนี้ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2565 ครบรอบ 67 ปี แห่งการประหาร 3 จำเลยคดีสวรรคตรัชกาลที่ ๘ นายเฉลียว ปทุมรส .. จำเลยที่ 1 นายชิต  สิงหเสนี .. จำเลยที่ 2 นายบุศย์ ปัทมศริน .. จำเลยที่ 3
Subscribe to สุพจน์ ด่านตระกูล