ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุพจน์ ด่านตระกูล

บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2564
เย็นวันนี้ ทีมบรรณาธิการของเรามีนัดสัมภาษณ์กับ ลุงแมว พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนาบุตรคนที่ 4 ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผู้ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหัวหน้าคณะราษฎร หนึ่งในสี่ทหารเสือผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475  เมื่อถึงเวลานัดหมาย เราพร้อมกันที่บ้านทาวน์เฮ้าส์ หลังหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกจากชานเมืองไปไม่ไกลนัก เจ้าของบ้านดวงหน้ายิ้มแย้มสดใสยืนรอต้อนรับพวกเราอยู่ที่หน้าประตูบ้านด้วยความเป็นกันเอง ก่อนเชื้อเชิญกันเข้ามานั่งที่โต๊ะรับรองภายในบ้าน ลุงแมวตระเตรียมทั้งขนมและน้ำให้พวกเราอย่างเต็มที่
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2564
ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองและเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการเมืองซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้เขียนคำแถลงการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองและร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ได้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งนั้นว่า ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ เปลี่ยนจากระบอบที่กษัตริย์มีอำนาจอย่างล้นพ้นมาเป็นการจำกัดภายใต้รัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2563
เกษียร เตชะพีระ ทบทวนบริบทแห่งการสร้างความคิดทางการเมืองของนายปรีดีว่ามาจาก (1) ระบอบล่าอาณานิคม (2) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ (3) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ในห้วงเวลานั้น
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
กรกฎาคม
2563
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล นายกสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์" ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้เขา ตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และการลงมือทำ #จุลสารปรีดี เพื่อเผยแพร่เรื่องราวของรัฐบุรุษอาวุโส และสัจจะทางประวัติศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
18
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต ได้ร่วมอภิปราย ความตอนหนึ่งดังนี้ ความจริงการเสวนาในวันนี้มีสองมิตินะครับที่กําหนดเป็นหัวข้อ มิติทางประวัติศาสตร์และมิติทางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2745 พี่สุพจน์ [ด่านตระกูล] ได้พูดถึงมิติทางด้านประวัติศาสตร์ไปในรายละเอียด ผมจะขอให้ข้อสังเกตบางประการทางด้านมิติรัฐธรรมนูญฉบับแรก 
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์  นายสุพจน์ ด่านตระกูล ได้ร่วมอภิปรายด้วย ความตอนหนึ่งดังนี้
Subscribe to สุพจน์ ด่านตระกูล