หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
มิถุนายน
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นโยบายการสาธารณสุขมีเป้าหมายเพื่อให้ราษฎรของประเทศ ‘กินอิ่มนอนอุ่น’ กันอย่างเสมอภาค
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มิถุนายน
2564
เวลาย่ำรุ่งของวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ได้ร่วมกันทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2564
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยนั้น มิได้มีความมุ่งหมายแต่เฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเท่านั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
พฤษภาคม
2564
เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2479 ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ หรือ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ‘พระยาฤทธิอัคเนย์’ (สละ เอมะศิริ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ และ คณะผู้ติดตามได้ออกเดินทางไปตรวจราชการและเยือนหลายจังหวัดทางภาคใต้
บทความ • บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2564
ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว
ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป
บทความ • บทสัมภาษณ์
1
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview Ep.2 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ดำเนินงานทางด้านนโยบาย ผู้หญิงยุคใหม่ที่มีแนวคิดก้าวหน้า กับการชวนคุยในเรื่อง "รัฐสวัสดิการ" และ “ความสำคัญถึงความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเป็นรัฐสวัสดิการ”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง
27
เมษายน
2564
รัฐสวัสดิการ เพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร