หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯ ได้ประกาศว่า การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ ในวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทยและฝ่าฝืนขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2564
แม้ไม่มีหลักฐานชิ้นใดที่จะชี้ชัดไปว่า ญี่ปุ่นรู้หรือไม่ว่ามีขบวนการเสรีไทยเกิดขึ้น และถ้ารู้ รู้เมื่อไหร่ และรู้อย่างไร โดยเฉพาะในช่วงปลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการต่อต้านญี่ปุ่น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2564
เฉพาะประเทศที่มีเอกราชอันแท้จริง และนโยบายต่างประเทศเป็นอิสระเท่านั้นจึงจะสามารถดำเนินนโยบายให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชาติและประชาชนได้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2564
ในบันทึกของรู้ทชิ้นนี้ได้กล่าวถึง "นโยบายสันติภาพของรัฐบาล" ที่ท่านเป็นผู้เขียนขึ้นและรวบรวมไว้เป็นเอกสารทางการเล่มหนึ่งที่ชื่อว่า “LE SIAM PACIFISTE” (สยามสันติภาพ)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
สิงหาคม
2564
‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมัย ‘พลตรี หลวงพิบูลสงคราม’ ผู้มีความคิดก้าวหน้าและมองการณ์ไกลว่าเมืองไทยในอนาคตการเศรษฐกิจจะต้องเจริญขึ้น จะต้องมีธนาคารชาติเพื่อควบคุมกิจการของธนาคารต่างๆ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”