ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2563
หลายคนคงไม่เคยรู้ว่า แท่นพิมพ์ที่ใช้พิมพ์ประกาศคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 นั้น ในเวลาต่อมาจะตกเป็นสมบัติของโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ใช้พิมพ์ตำราเรียนและหนังสือต่าง ๆ จนเมื่อปลดระวางแล้ว ก็ยังถูกเก็บรักษาไว้ ดังในปัจจุบันจัดแสดง ณ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน” โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2563
ม.ธ.ก. ถือได้ว่าเป็นผลพวงหรือ “คู่แฝด” ของการปฏิวัติสยาม 24 มิถุนายน 2475/ 1932 อย่างไม่ต้องสงสัย หากไม่มี 24 มิถุนายน 2475/1932 ก็อาจจะไม่มี 27 มิถุนายน 2477/1934 (วันสถาปนา ม.ธ.ก.)
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2563
เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เวลา 17.15 น. โปรดเกล้าฯ ให้พระยามโนปกรณ์, พระยาศรีวิสาร, พระยาปรีชาชลยุทธ, พระยาพหล, กับหลวงประดิษฐมนูธรรม มาเฝ้าฯ ที่วังสุโขทัย มีพระราชดํารัสว่า อยากจะสอบถามความบางข้อ และบอกความจริงใจ ตั้งแต่ได้รับราชสมบัติ ทรงนึกว่า ถูกเลือกทําไม บางทีเทวดาต้องการให้พระองค์ ทํา อะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ  การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2563
ข้าพเจ้ารู้จักนายพลตำรวจตรี พัฒน์ นีลวัฒนานนท์ เมื่อครั้งยังเป็นนายร้อยตำรวจตรี เริ่มสมัครเป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมที่ข้าพเจ้าได้เป็นผู้สอนหลายวิชา คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล และกฎหมายปกครอง
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2563
การอ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (อาจารย์ปรีดี พนมยงค์) เขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2476 ต้องทำความเข้าใจบริบทของประเทศไทยในช่วงก่อนปี 2476 ที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ มีความเป็นอยู่ลำบาก ไม่สามารถเข้าถึงที่ดิน เงินทุน เทคโนโลยี มีปัญหาชลประทานและถูกเก็บภาษีทีไม่เป็นธรรม ประกอบกับการค้าอยู่ในมือของต่างชาติ อาจารย์ปรีดีจึงเห็นว่าการที่จะได้มาซึ่งประชาธิปไตยต้องเริ่มจากการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและความยากจนของชาวชนบท  และในสมัยนั้นราษฎรยังคงอ่อนแอ แนวทางเดียวที่จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ให้ราษฎรคือรัฐบาลจะต้องมีบทบาทในการจัดการเศรษฐกิจ
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม