ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ได้ลุล่วงดังเป้าหมายของคณะผู้ก่อการ บรรดาฝ่ายสนับสนุนทั่วทุกสารทิศบนแผ่นดินสยามจึงต่างพากันยินดีในความสำเร็จและได้ส่งของขวัญต่างๆ เพื่อบรรณาการมายังรัฐบาลคณะราษฎร ทั้งในรูปแบบของสิ่งของ และรูปแบบของอาหาร
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2564
กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่มีบทบาทสำคัญและส่งทอดอิทธิพลต่อแนวความคิดทางการเมืองของนายปรีดี พนมยงค์ หากแต่ไม่ค่อยเป็นที่รับรู้กันเท่าไหร่
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2564
‘นายถวัติ ฤทธิเดช’ กับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ คือบุคคลร่วมสมัยกัน และคนหนุ่มทั้งสองเพียรพยายามในการเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตยเฉกเช่นเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2564
บทความนี้ 'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จัก 2 พ่อลูกนักคิดหัวก้าวหน้าในยุคเปลี่ยนผ่านของหน้าประวัติศาสตร์ไทยอย่าง ก.ศ.ร.กุหลาบ และบุตรชายของเขา "นายชาย ตฤษณานนท์" (ก.ห. ชาย)
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
บทบาท-ผลงาน
15
พฤษภาคม
2564
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาผู้อ่านล่องใต้อีกครั้ง นอกจากเรื่องราวการสวนยางพาราที่หลวงประดิษฐ์ฯ ได้วางโครงการไว้ ผู้เขียนยังพาทุกท่านได้รู้จักกับอีกบุคคลสำคัญที่มีบทบาทโดดเด่นอย่าง 'นายเจียกีซี' หรือ ‘ขุนนิพัทธ์จีนนคร’
บทบาท-ผลงาน
4
พฤษภาคม
2564
เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2479 ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ หรือ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ‘พระยาฤทธิอัคเนย์’ (สละ เอมะศิริ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ และ คณะผู้ติดตามได้ออกเดินทางไปตรวจราชการและเยือนหลายจังหวัดทางภาคใต้
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2564
  บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี  พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า  “อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”   “ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?” 
Subscribe to อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ