ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มีนาคม
2565
"รัฐบุรุษ" หรือ THE STATESMAN WEEKLY มีลักษณะเป็น “แม็กกาซีนการเมืองรายสัปดาห์ ฉบับสมบูรณ์แบบในเมืองไทย” บรรณาธิการ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา คือ เทพวิฑูร นุชเกษม จำหน่ายราคาฉบับละ 2 บาท และฉบับรำลึกท่านปรีดีนั้น วางแผงเป็นหนังสือพิมพ์ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำวันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2565
ภาพจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในสังคมมักจะนึกถึงบทบาทนำในคณะราษฎรและเสรีไทย แต่ในมุมส่วนตัวของบรรดาลูกศิษย์และคนใกล้ชิด นายปรีดีคือครูผู้ใจดี เป็นผู้ใหญ่ที่เปิดกว้างต่อคนรุ่นใหม่ แม้ไม่เคยสนทนาโดยตรงแต่ทั้งภาพจำทางสังคมและการเล่าสู่กันฟัง มีหลายคนที่ชื่นชมนายปรีดี เช่น 'บุญมี เมธางกูร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2565
เกิดอะไรขึ้นในขณะที่คณะลิเกของสุชินกำลังจะถึงคิวออกอากาศในวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์อย่าง “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” ติดตามได้ในบทความของอาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นี้
บทบาท-ผลงาน
29
มกราคม
2565
แม้จะได้รับการโจมตีว่าเป็น “รัฐบาลขี้ขลาด” เพราะไม่ตัดสินใจทำสงครามในกรณีพิพาทกับฝรั่งเศสช่วงปี พ.ศ. 2489 แต่ นายปรีดี พนมยงค์ ก็ยังยืนยันหนักแน่นว่า เขาจะต้องดำเนินนโยบายเพื่อมิให้ราษฎรประสบความเดือดร้อนในการเข้าสู่สภาวะสมรภูมิอีกต่อไป
บทบาท-ผลงาน
22
มกราคม
2565
ช่วงวันที่ 10-11 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ปรากฏข่าวคราวหนึ่งแพร่กระจายสู่ความรับรู้ของผู้พำนักอยู่ในรัฐปีนัง (Penang) เขตดินแดนมลายู จนสร้างความตื่นเต้นและตื่นตัวเป็นอันมาก นั่นคือกรณีที่ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ นายปรีดี พนมยงค์ ขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จะออกเดินทางจากเมืองไทยมาแวะเยือนถิ่นปีนัง โดยเฉพาะความเคลื่อนไหวของกลุ่มเจ้านายเดิมสมัยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ต้องลี้ภัยทางการเมือง 
ชีวิต-ครอบครัว
9
มกราคม
2565
ถึงแม้ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จะเป็นภริยา นายปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
ศิลปะ-วัฒนธรรม
19
ธันวาคม
2564
ช่วงปลายธันวาคม พ.ศ. 2488 ได้มีหนังสือพิมพ์หัวใหม่เกิดขึ้นในวงการสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า "หนังสือพิมพ์มติราษฎร์" ประจวบกับเพิ่งผ่านพ้นการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 2 มาไม่กี่เดือน
Subscribe to อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ