ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2565
คุณรู้หรือไม่? กว่าจะเป็น "สวนลุมพินี" อย่างที่เห็นกันทุกวันนี้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของบริเวณนี้เคยเป็น "สวนสนุก" มาก่อน ในบทความนี้ ผู้เขียนจะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ไปทำความรู้จักกับที่มาว่ากว่าจะมาเป็นสวนลุมพินีที่อย่างที่เห็น ซึ่งมาปรับเปลี่ยนในสมัยรัฐบาลคณะราษฎร อันมี 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์' เป็นเจ้ากระทรวงมหาดไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2565
ผู้เขียนได้เล่าถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่รัฐบาลคณะราษฎรได้ตระหนักถึงคุณประโยชน์และเพื่อพัฒนากิจการโทรศัพท์จึงได้ปรับเปลี่ยนทั้งระบบการใช้งานและสั่งซื้ออุปกรณ์ต่างๆ จากประเทศอังกฤษเพื่อเพิ่มจำนวนเลขหมายโทรศัพท์ให้มากขึ้นกว่าเดิม และการใช้งานให้ได้ดีกว่าเคย
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มีนาคม
2565
"รัฐบุรุษ" หรือ THE STATESMAN WEEKLY มีลักษณะเป็น “แม็กกาซีนการเมืองรายสัปดาห์ ฉบับสมบูรณ์แบบในเมืองไทย” บรรณาธิการ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา คือ เทพวิฑูร นุชเกษม จำหน่ายราคาฉบับละ 2 บาท และฉบับรำลึกท่านปรีดีนั้น วางแผงเป็นหนังสือพิมพ์ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำวันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2565
ภาพจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในสังคมมักจะนึกถึงบทบาทนำในคณะราษฎรและเสรีไทย แต่ในมุมส่วนตัวของบรรดาลูกศิษย์และคนใกล้ชิด นายปรีดีคือครูผู้ใจดี เป็นผู้ใหญ่ที่เปิดกว้างต่อคนรุ่นใหม่ แม้ไม่เคยสนทนาโดยตรงแต่ทั้งภาพจำทางสังคมและการเล่าสู่กันฟัง มีหลายคนที่ชื่นชมนายปรีดี เช่น 'บุญมี เมธางกูร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2565
เกิดอะไรขึ้นในขณะที่คณะลิเกของสุชินกำลังจะถึงคิวออกอากาศในวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์อย่าง “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” ติดตามได้ในบทความของอาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นี้
Subscribe to อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ