ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2564
ทุกข์ของชาวนานั้นเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดในสังคมไทย และเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2564
ช่วงเดือนสิงหาคมจนถึงกันยายนนั้นเป็นช่วงเทศกาลพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งต้องตราให้แล้วเสร็จก่อนวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีอันเป็นวันเริ่มต้นปีงบประมาณ
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม” ซึ่งจัดทำขึ้นระหว่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ซึ่งคนไทยมักจะเรียกว่าอังกฤษกับประเทศไทยหรือสยามในเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” เป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจสยามเข้ากับโลกเศรษฐกิจของยุโรป
บทบาท-ผลงาน
20
กรกฎาคม
2564
เรื่องราวความรักของ 'มณีจันทร์' หญิงสาวผู้ที่สามารถวิ่งทะลุกาลเวลาผ่านกระจกบานใหญ่กลับไปยังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2564
เมื่อสยามเริ่มเรียนรู้วิทยาการจากโลกตะวันตกในช่วง “การปฏิรูปประเทศ” สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งหลายวิทยาการที่นำเข้ามาจากโลกตะวันตกได้รับความนิยมชมชอบจากชนชั้นนำของสยามในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2564
ในปัจจุบันเมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ คนส่วนใหญ่คงรู้และเข้าใจได้ว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง ชื่อของกฎหมายที่กำหนดระเบียบแห่งอำนาจสูงสุดในรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหล่านี้ต่อกันและกัน
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2564
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยนั้น มิได้มีความมุ่งหมายแต่เฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเท่านั้น
Subscribe to เขมภัทร ทฤษฎิคุณ