เขมภัทร ทฤษฎิคุณ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
เมษายน
2564
หลักการการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎรนั้น ปรีดีได้นำเสนอเอาไว้ใน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยการจะดำเนินการให้มีประกันเช่นว่าได้นั้น รัฐบาลจะต้องเป็นผู้ดำเนินการเอง เพราะด้วยลักษณะของประกันเช่นนี้ ไม่มีเอกชนคนใดจะทำได้ หรือถ้าเอกชนคนใดจะทำได้ ก็จะต้องดำเนินการโดยมีค่าใช้จ่ายเบี้ยประกันที่แพงมากเกินกว่าราษฎรทุกคนจะได้รับประกันในลักษณะดังกล่าวได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2564
ความสำคัญของการพิจารณางบประมาณประจำปีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยก็คือ การเปิดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหลายสามารถปรึกษาโดยทั่วๆ ไป โดยอาจตั้งคำถามถึงความจำเป็นและที่มาของการใช้จ่าย รวมถึงการตัดลดรายจ่ายในงบประมาณแผ่นดินนั้นๆ ซึ่งสิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในการจัดทำงบประมาณประจำปีในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
มีนาคม
2564
ความสำคัญในการจัดทำงบประมาณครั้งแรก ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็คือ การเปลี่ยนแปลงในเชิงหลักการของผู้ทรงอำนาจสูงสุดในทางงบประมาณจากพระมหากษัตริย์มาเป็นสภาผู้แทนราษฎรในฐานะผู้แทนของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2564
ก่อนการอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ย้อนกลับไปนับตั้งแต่ช่วงปลายอยุธยาจนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สิทธิที่จะใช้สอยทรัพย์สินที่อยู่ภายใต้สิทธิของกษัตริย์ โดยราษฎรได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินในฐานะสิ่งตอบแทนที่เป็นแรงงานให้กับรัฐ ซึ่งกษัตริย์ยังสงวนอภิสิทธิ์และพระราชอำนาจที่จะจำหน่ายจ่ายโอนที่ดินให้กับคนในบังคับของพระองค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2564
บ่อยครั้งนโยบายทางเศรษฐกิจในประเทศหนึ่ง ๆ นั้น มิได้มีปัจจัยมาจากภายในของประเทศแต่เพียงอย่างเดียว ทว่า นโยบายนั้นอาจเกิดขึ้นจากการใช้อำนาจจากต่างประเทศเข้ามาเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจภายในประเทศ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 นั้นมิได้มีความสำคัญเฉพาะในทางการเมือง ซึ่งการรัฐประหารในครั้งนี้ไม่ได้ฉุดรั้งการพัฒนาของประชาธิปไตยไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่การรัฐประหาร 2490 นั้นได้ผลักดันแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” แบบเข้มข้น โดยเอื้อประโยชน์ให้ส่วนตัวและให้ความคุ้มครองแก่พ่อค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้น การเข้ามามีบทบาทของพญาอินทรี ทำให้เกิดความสัมพันธ์สามฝ่ายระหว่าง ขุนศึก พ่อค้า และพญาอินทรี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มกราคม
2564
หลักภราดรภาพ คือ วิธีการและทางออกของปัญหาที่จะช่วยเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ในครั้งนี้ จากหลักคิดนี้เอง เขาเสนอว่า รัฐบาลควรที่จะปรับเปลี่ยนนโยบายที่ใช้อยู่ โดยมองถึงนโยบายระยะสั้น และระยะยาว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เขมภัทร ทฤษฎิคุณ
11
มกราคม
2564
ตลอดระยะเวลาหนึ่งปีที่ไวรัสโควิด-19 ระบาดไปทั่วทุกมุมโลก นับเป็นวิกฤตการณ์ครั้งใหม่ที่ท้าทายการดำรงอยู่ของเผ่าพันธุ์มนุษย์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะผลกระทบในทางเศรษฐกิจและสังคมที่ตามมาทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย