ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

PRIDI Talks

7
สิงหาคม
2566
หลักการและเหตุผล วันที่ 16 สิงหาคม 2488 หรือ 78 ปีที่แล้ว คือ วันที่นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยฯ ให้การประกาศสงครามเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นโมฆะ เนื่องจากเป็นการกระทำอันขัดต่อเจตจำนงของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ ผลสืบเนื่องจากการดำเนินการต่อต้านญี่ปุ่นในทางลับร่วมกับฝ่ายสัมพ
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2566
ภายใต้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศในแต่ละยุคสมัย การพยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ได้อาศัยการขับเคลื่อนของคณะบุคคลเป็นระยะๆ โดยความพยายามในอดีตได้สร้างแรงบันดาลใจต่อการพยายามในสมัยต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2566
คำกล่าวประโยคหนึ่งที่ว่า “ประวัติศาสตร์สอนให้เรารู้ว่า เราไม่เรียนรู้อะไรจากประวัติศาสตร์เลย” จริงหรือไม่ คำอภิปรายต่อไปนี้เป็นการตอบคำถามดังกล่าว ที่แฝงไว้ด้วยความประสงค์ให้คนไทยพึงเรียนรู้สาระสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
5
กรกฎาคม
2566
สื่อมวลชนสำคัญต่อการพัฒนาประชาธิปไตยตลอดมา แม้สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เกิดขึ้นภายใต้การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความคิดเห็นด้านประชาธิปไตยในแง่มุมต่างๆ ที่หนังสือพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ของนักเขียนในสมัยก่อนหน้าและในขณะนั้น นำเสนอให้ชาวสยามได้รับทราบ
แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2566
ประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยได้ดี คือคนในสังคมต้องพร้อมเป็นประชาธิปไตย แล้วการที่พร้อมก็คือมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขันไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม มีเงื่อนไขอยู่แค่ประชาชนกับทหารดังนั้นสิ่งที่ต้องทำก็คือ ทำให้ทหารเป็นของประชาชน อยู่กับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2566
สิ่งสำคัญก้าวแรกที่จะนับได้ว่าเป็นชัยชนะก้าวแรกของประชาชนอย่างแท้จริง คือ การมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นฝ่ายประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่ง่าย เนื่องด้วยกฎกติกาที่เขียนโดยกลุ่มบุคคลที่สืบทอดอำนาจมาจากการรัฐประหารนั้น ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2566
จิ๊กซอว์หนึ่งของชัยชนะในระยะยาวที่เด็ดขาด คือ (1) ประชาชนต้องกลับมาศรัทธาเชื่อมั่นในระบบรัฐสภาให้ได้ (2) เราต้องทำให้ชนะการเลือกตั้ง พรรคที่ได้อันดับ 1 ต้องชนะโดยการไม่ซื้อเสียงให้ได้ (3) ผู้แทนราษฎรในสภาต้องกลับไปเป็นผู้แทนราษฎรที่ทรงเกียรติแบบที่อยู่ในประวัติศาสตร์ให้ได้ และ (4) ต้องชนะความคิดให้ได้
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
Subscribe to PRIDI Talks