ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

PRIDI Talks

แนวคิด-ปรัชญา
12
มกราคม
2566
ชานันท์ ยอดหงษ์ กล่าวถึงบทบาทของรัฐในการรับรองสิทธิของกลุ่มคนผู้มีความหลากหลายทางเพศซึ่งยังปรากฏมุมมองความเหลื่อมล้ำทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ตลอดจนบทบาทในฐานะผู้ผลักดันและมีส่วนร่วมของการทำงานด้านการเมืองเชิงอัตลักษณ์ให้แก่พรรคการเมือง รวมไปถึงบอกเล่าความเหลื่อนไหวของสตรีผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาการอภิวัฒน์ 2475
10
มกราคม
2566
สรุปประเด็นเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี
9
มกราคม
2566
ข่าวการจัดงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิง พูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” ขึ้น ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2566
27
ธันวาคม
2565
PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย” วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566 14.00 - 17.00 น. ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี   
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
การนำเสนอรายงานการวิจัย เรื่อง ความคิดทางรัฐธรรมนูญและความมุ่งหมายทางการเมืองในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ : ศึกษาผู้ร่วมออกแบบร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2540, 2550, 2558 และ 2560 โดย ดร.ชาย ไชยชิต และ ดร.เอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.วรรณภา ติระสังขะ กล่าวถึงกล่าวถึงความสำคัญและกลไกของรัฐธรรมนูญในฐานะเครื่องมือสำคัญเพื่อรับใช้ประชาชน พร้อมทั้งชี้ถึงความจำเป็นของการเปิด "พื้นที่สาธารณะ" เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดของคนในสังคม ทั้งนี้ยังได้เสนอหนทางที่นำไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
Subscribe to PRIDI Talks