ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

PRIDI Talks

แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
21
สิงหาคม
2565
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับสันติภาพและสงคราม มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ซึ่งมีงานวิจัยและงานทางวิชาการที่ยืนยัน เวลาที่จะเกิดสงครามใหญ่มันจะเกิดสภาวะวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และสงครามก็นำมาสู่วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2565
มนุษย์เราส่วนใหญ่ต้องการสันติภาพ แต่ผู้นำส่วนใหญ่มักแต่คิดเรื่องของตนเอง โดยพวกเขาชอบสร้างความฝันที่ส่งผลกระทบให้เกิดสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
19
สิงหาคม
2565
'ส. ศิวรักษ์' กล่าวถึงคุณูปการของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านมุมมองแนวคิดสันติภาพที่นายปรีดีได้ยึดถือตลอดชีวิตการทำงานเพื่อชาติและราษฎร ตลอดจนกระทั่งผลงานชิ้นสุดท้ายที่นายปรีดีได้สร้างไว้ คือ "วันสันติภาพไทย" อันเป็นดอกผลจากการดำเนินงานภารกิจกู้ชาติ ในนามของ "ขบวนการเสรีไทย" ณ ช่วงเวลาสงครามโลกครั้งที่ 2
5
สิงหาคม
2565
PRIDI Talks #17: 77 ปี วันสันติภาพไทย “ความคิดสันติภาพของปรีดี พนมยงค์ กับ สันติภาพของโลกในปัจจุบัน” วันอังคารที่ 16 สิงหาคม 2565 ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เวลา 10.30 - 12.30 น. หลักการและเหตุผล  
26
มิถุนายน
2565
ศุกร์ที่ 24 มิถุนายนที่ผ่านมา ในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา PRIDI Talks #16: 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
6
มิถุนายน
2565
PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย” วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เวลา 14.00 - 17.00 น.
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2565
สัจธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่จะต้องมีการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ประชาธิปไตยจึงต้องเปิดกว้างเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนา สาระสำคัญของการเข้าสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงเป็นการทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับกระบวนการพัฒนา
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
Subscribe to PRIDI Talks