ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2564
บ่ายวันที่ 7 พฤศจิกายน 2490 เป็นฤดูปลายฝนต้นหนาวอากาศกำลังเย็นสบาย ลมอ่อนๆ พัดโชยมาจากแม่น้ำเจ้าพระยาพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน ส่องประกายระยิบระยับบนผิวน้ำ เด็กผู้หญิงเล็กๆ สามสี่คนกำลังวิ่งเล่นที่สนามหญ้าบริเวณบ้าน ทุกอย่างเป็นปกติ บรรยากาศสงบนิ่งสวยงาม        
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
พวกเรากับปาล พนมยงค์ รู้จักกันครั้งแรกในรั้วโดมธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2489 ในฐานะนักเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองรุ่นเดียวกัน
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
‘คุณปาล พนมยงค์’ เป็นบุตร ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ปี พ.ศ. 2500 คุณปาล พนมยงค์ ได้มาอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ โดยท่านผู้หญิงพูนศุขผู้เป็นมารดาได้นำไปมอบฝากถูกต้องตามระเบียบและพระธรรมวินัยทุกประการ ข้าพเจ้าเป็นพระอุปัชฌายะ ครั้นอุปสมบทแล้วพระภิกษุปาลก็ได้พักศึกษาปฏิบัติพระพุทธศาสนาอยู่ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนกระทั่งลาสิกขา
บทบาท-ผลงาน
22
สิงหาคม
2564
‘ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน’ อดีตเอกอัครราชทูต ผู้ที่ทำงานใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
บทสัมภาษณ์
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2564
  ผมมีโอกาสได้เห็นบ้านเมืองที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นครั้งแรกเมื่อตอนอายุ 16 เพราะตามคุณยายพูนศุข (ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์) กลับมาที่บ้านอองโตนี จึงทำให้มีโอกาสได้ใช้ชีวิตกับคุณตาปรีดี (ปรีดี พนมยงค์) ร่วม 3 เดือน ทำให้ผมรู้สึกประทับใจกับสภาพบ้านเมืองและชีวิต ความเป็นอยู่ที่นี่มาก จนเมื่อภายหลังราวอายุ 20 ปี เมื่อตอนเป็นนักศึกษาแพทย์ เป็นโอกาสอีกครั้งที่ได้กลับไปที่บ้านอองโตนี เพราะมีทริปเดินทางไปทัวร์ยุโรปกับเพื่อนและน้องสาว ซึ่งครั้งนั้นประจวบเหมาะพอดีกับเหตุการณ์สูญเสียอันยิ่งใหญ่ในชีวิต คือ ‘การมรณกรรมของคุณตาปรีดี’
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
นี่เป็นบันทึกประโยคสุดท้ายด้วยลายมืออันสวยงามของคุณแม่ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ในวัยย่าง 96 ปี ที่เขียนไว้ในบันทึกประจำวันของท่าน
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
จดหมายจากท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถึงหลานชาย
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์