ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2565
‘ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์’ เป็นปูชนียบุคคลที่หาได้ยาก ความสำคัญของท่านไม่ได้จำกัดอยู่ตรงที่ว่าท่านเป็นภรรยาของรัฐบุรุษอาวุโสคนแรกและคนเดียวของประเทศไทยเท่านั้น แต่ท่านยังมีความสำคัญโดยตัวท่านเอง เพราะท่านเป็นแบบอย่างแห่งทางจริยธรรมที่เราควรจะดำเนินตามเป็นอย่างยิ่ง ท่านเป็นผู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรมมากมายหลายประการ สมกับได้ชื่อว่าเป็น “ธรรมจารี” หรือผู้ประพฤติธรรม อาทิเช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความสันโดษ ความเสียสละ ความกล้าหาญ ความกตัญญู และความเมตตากรุณา  
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2565
ขออนุโมทนาท่านที่มีน้ำใจบอกข่าวแจ้งเรื่องราวให้ทราบว่า เวลานี้โยมท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถ้าท่านยังอยู่จะมีอายุถึง ๑๑๐ ปี ถ้าลำพังอาตมานึกถึงท่านก็ได้แต่นึกถึงนาม นึกถึงชื่อก็ไม่ทราบว่าท่านมีอายุถึงบัดนี้ ๑๑๐ ปีแล้ว ถ้าพูดอย่างคนทั่วๆ ไป ชอบพูดกัน ก็บอกว่าเวลาช่างรวดเร็วเสียเหลือเกิน 
แนวคิด-ปรัชญา
18
มกราคม
2565
  ด้วย พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ 110 ปี การจากไปของ ‘ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์’ อาตมาขอโอกาสว่า อยากจะกล่าวคำนี้ไว้ในที่ประชุมนี้ว่า
16
มกราคม
2565
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #14: 110 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม”
ชีวิต-ครอบครัว
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2565
คุณแม่...คือตัวอย่างของผู้ให้กำเนิดที่ประเสริฐ คนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกทางเดินชีวิตของตนเองได้ ลูกๆ ทั้งหกคนโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นลูกของปรีดี-พูนศุขที่เป็นบุคคลอันเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างของการยืนอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี คุณแม่อุ้มท้องลูกทั้งหกคน อย่างทะนุถนอม และด้วยความยากลำบาก เสี่ยงชีวิต อดทนต่อความเจ็บปวด คลอดเราออกมา และดูแลอภิบาลตั้งแต่แรกเกิดจนเติบโต
ชีวิต-ครอบครัว
11
มกราคม
2565
สิ่งที่เห็นอย่างเด่นชัดในจดหมายทุกฉบับ คือ “ความรักในทัศนะใหม่” โดยการให้เกียรติสตรีอย่างเสมอภาคกับบุรุษของปรีดีต่อพูนศุข
ชีวิต-ครอบครัว
9
มกราคม
2565
ถึงแม้ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จะเป็นภริยา นายปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ชีวิต-ครอบครัว
7
มกราคม
2565
"โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์" สอนให้ข้าพเจ้าซื่อสัตย์ มีวินัย มีมารยาทในสังคม มีวิชาความรู้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ทำให้ข้าพเจ้าทำหน้าที่ภรรยาของนักการเมืองและแม่ของลูกได้อย่างมีความอดทน เชื่อมั่นและไม่ท้อแท้ แม้บางครั้งครอบครัวข้าพเจ้าจะถูกมรสุมการเมืองโถมกระหน่ำอย่างไร้ความปรานี
ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2565
๑. ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๕-๒๔๘๔ ร.ศ. ๑๓๐ (พุทธศักราช ๒๔๕๔) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงวิชิตสรไกรไปรับราชการในตำแหน่งเจ้าเมืองจังหวัดสมุทรปราการ และพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระสมุทรบุรานุรักษ์” (ขำ) พระสมุทรบุรานุรักษ์ บิดาของข้าพเจ้า ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทรปราการ พระยาเพชรฎา และ พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา ตามลำดับ
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์