ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
ชีวิต-ครอบครัว
15
เมษายน
2565
ปฏิทินเดิมของไทย เวลาที่พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ราศีเมษ เรียกว่า มหาสงกรานต์ และก็เป็นนักขัตฤกษ์เนื่องในการขึ้นปีใหม่ ต่อจากนั้นเป็น วันเนา คือ วันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ระหว่างสองราศี คือ มีนและเมษ และสุดท้ายเป็นวันเถลิงศกจุลศักราช ซึ่งในปัจจุบันได้กำหนด 3 วันนี้ ตามสุริยคติเป็นวันที่13-14-15 เมษายน
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2565
"สถาบันปรีดี พนมยงค์" ที่ครูอุทิศที่ดินให้นั้น ได้ดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทยเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง แม้การเปลี่ยนแปลงใดๆ จะเกิดขึ้นตามความเป็นอนิจจังของสังคมและเหตุปัจจัยต่างๆ แต่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ยังคงทำกิจกรรมตามปณิธานของผู้ก่อตั้งอย่างไม่เปลี่ยนแปลงและไม่มีวันสิ้นสุด
แนวคิด-ปรัชญา
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มีนาคม
2565
"รัฐบุรุษ" หรือ THE STATESMAN WEEKLY มีลักษณะเป็น “แม็กกาซีนการเมืองรายสัปดาห์ ฉบับสมบูรณ์แบบในเมืองไทย” บรรณาธิการ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา คือ เทพวิฑูร นุชเกษม จำหน่ายราคาฉบับละ 2 บาท และฉบับรำลึกท่านปรีดีนั้น วางแผงเป็นหนังสือพิมพ์ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำวันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2565
'ศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์' ปาฐกถาเรื่อง "สตรีกับประชาธิปไตย" ความมีเสน่ห์ของงานชิ้นนี้ เริ่มต้นที่เล่าถึงการรับรู้บทบาทและสิทธิของสตรีจากประสบการณ์เยาว์วัยภายในครอบครัว ชุมชน ของผู้เขียนแล้วจึงค่อยๆ เปิดเผยความรับรู้เรื่องบทบาทของสตรีที่เชื่อมโยงกับสังคม
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์