ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2565
๑. ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๕-๒๔๘๔ ร.ศ. ๑๓๐ (พุทธศักราช ๒๔๕๔) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงวิชิตสรไกรไปรับราชการในตำแหน่งเจ้าเมืองจังหวัดสมุทรปราการ และพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระสมุทรบุรานุรักษ์” (ขำ) พระสมุทรบุรานุรักษ์ บิดาของข้าพเจ้า ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทรปราการ พระยาเพชรฎา และ พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา ตามลำดับ
ชีวิต-ครอบครัว
4
มกราคม
2565
ข้าพเจ้าเกิดเมื่อวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๕๕ ตรงกับวันอังคาร ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน ที่จวนผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการริมน้ำ เยื้องพระสมุทรเจดีย์ เป็นบุตรมหาอำมาตย์ตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา และคุณหญิงเพ็ง
28
ธันวาคม
2564
PRIDI Talks #14 : 110 ปี ชาตกาลท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม” วันอาทิตย์ที่ 16 มกราคม 2565 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ เวลา 14.00-17.00 น.  
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2564
ย้อนกาลเวลาสู่ช่วงทศวรรษ 2440 กลางท้องทุ่งริมเขตแดนของอำเภออุทัย (ยุคนั้นเรียก “อำเภออุไทย”) แห่งอยุธยา มณฑลกรุงเก่า ได้ปรากฏบุรุษสามรายผู้ประพฤติตนเป็น “นักต่อสู้ไล่ช้าง” อันมีนามว่า คุณแดง นายฮ้อ และนายเสียง เรื่องราวของพวกเขาจะเป็นอย่างไร? และเกี่ยวข้องประการใดกับ นายปรีดี พนมยงค์? โปรดติดตาม ณ บัดนี้
บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤศจิกายน
2564
ในพรมแดนของการแสดงออกทางศิลปะร่วมสมัยนั้น ศิลปะการละครมักจะสามารถยืนอยู่ในมุมที่นำเสนอทางเลือกที่แปลกใหม่ให้กับผู้ชมได้เสมอ ท่ามกลางบรรยากาศของการถูกกำกับควบคุมโดยกลไกของรัฐบางอย่าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์