ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ธันวาคม
2565
เมื่อสิ้นสุดสงคราม ปรีดี พนมยงค์ได้สถาปนาพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้คืนคงเป็นพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยอย่างเต็มที่ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ฯ และพระกระแสรับสั่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2565
ผู้เขียนได้บอกเล่าเรื่องราวประสบการณ์ทางการเมืองของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในประเทศอังกฤษ โดยมีที่มาซึ่งเกิดขึ้นขณะที่นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข ต้องระเห็จระเหินไปยังต่างแดน ทว่า ระหว่างการเดินทางในครานั้นก็ได้นำพาให้ทั้งสองไปพบเจอกับ 'เจมส์ แม็กซ์ตัน' (James Maxton) สมาชิกสภาอังกฤษแห่งพรรคแรงงานอิสระ (Independent Labour Party: ILP)
ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 จนกระทั่งวันนี้ เป็นเวลา 94 ปี ที่นามของปรีดี-พูนศุข ได้ประสานรวมเป็นหนึ่งและเคียงข้างกัน แม้ทั้งสองจะล่วงลับละสังขารจากโลกนี้ไปแล้ว แต่เรื่องราวความรักและคุณูปการที่ได้เคยกระทำไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ยังคงโลดแล่นและไหลเวียนอยู่ในสายธารแห่งประวัติศาสตร์อย่างมิรู้จบ....ตราบนานเท่านาน .
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2565
ราว 5 ปีก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 ที่ถูกวิจารณ์ว่ามีกระบวนการร่างฯ เพื่อรักษาอำนาจให้แก่รัฐบาลของ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นหลัก
ชีวิต-ครอบครัว
22
กันยายน
2565
เมื่อสงครามสิ้นสุดแล้ว คุณไสวได้สมัครเป็นผู้แทนราษฎร และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบ้านเกิด ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการนายกรัฐมนตรี
ชีวิต-ครอบครัว
10
กันยายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เล่าเรื่องราวความรัก ความห่วงใย และความพยายามของผู้เป็นพ่อ ในการศึกษาค้นคว้าและติดตามข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคมะเร็ง ส่งผ่านคำแนะนำรวมถึงกำลังใจเป็นถ้อยคำในจดหมายที่เขียนถึงปาล ภายหลังเมื่อบุตรชายต้องล้มป่วยจากโรคร้าย ด้วยความหวังที่อยากจะเห็นปาลหายขาดจากอาการป่วยและกลับมามีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำคุณประโยชน์เพื่อประเทศชาติได้อีกครั้ง
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์