ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2566
ทรรศนะทางการเมืองต่อเรื่องกลไกประชาธิปไตย เพื่อส่งใจความไปถึงเหล่าองคาพยพทางการเมืองทุกฟากฝ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจขึ้นมาได้จากการใช้อำนาจนอกระบอบ กุหลาบชี้ชัดให้เห็นว่าระบบการเมืองที่มั่นคงและตั้งตรงด้วยหลักการ จะเป็นเสมือนปราการที่คอยป้องกันมิให้สิ่งไม่ดีเกิดขึ้นในระบบการเมืองได้น้อยครั้งที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475