ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490 สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2565
“ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การพนันจึงเกิดขึ้น”  นั่นคือคำกล่าวที่เรามักจะแว่วยินกันอยู่บ่อยหน  หากอีกหลายบรรทัดที่ผมกำลังจะบอกเล่าต่อไป  เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการนัดประชุมวางแผนยึดอำนาจของกลุ่มผู้นำ คณะราษฎร ช่วงก่อนหน้าที่พวกเขาจะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญ เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งการนัดประชุมแต่ละครั้งมีลักษณะเข้าทำนอง “แม้ความคิดเห็นจะตรงกัน แต่การพนันก็เกิดขึ้น”
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
แนวคิด-ปรัชญา
6
พฤษภาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชวนให้พิจารณาถึงเรื่องของ "ความยุติธรรม" ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ความยุติธรรมในเรื่องของตัวบทกฎหมาย หากแต่เป็น "ความยุติธรรมระหว่างช่วงเวลา" ที่เชื่อมโยงกับ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (SDGs)
บทสัมภาษณ์
30
เมษายน
2565
#PRIDIInterview ขอนำเสนอ ความรู้เรื่องของ “ภาษี” ก่อน และ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดย 'คุณศิริกัญญา ตันสกุล' รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลฝ่ายนโยบาย ที่จะพาคุณไปเรียนรู้และทำความเข้าใจ ตั้งแต่เรื่องของภาษีในแง่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่อง "ประมวลรัษฎากร" ว่าคืออะไร สาเหตุที่ต้องมีการสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นนั้นด้วยเพราะเหตุใด
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475